Page 28 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 28

10-18 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมทอ้ งถ่ินไทย

            3.3 	บททำ� ขวญั การทำ� ขวญั ในภาคใตข้ องไทยมลี กั ษณะเชน่ เดยี วกบั การทำ� ขวญั ในภาคอน่ื ๆ
ท้ังน้ีเพราะการท�ำขวัญเป็นรากร่วมทางวัฒนธรรมของคนกลุ่มชาติพันธุ์ไท (tai) การท�ำขวัญในภาคใต้
ท�ำขวญั หลากหลาย ทั้งทำ� ขวัญข้าว ท�ำขวัญนาค ทำ� ขวัญบา่ วสาว ทำ� ขวัญเด็ก และทำ� ขวญั เรือ

            ลักษณะทางฉันทลักษณ์ของบทท�ำขวัญเช่นเดียวกับบทไหว้สัดดีและบทไหว้เจ้าที่ ที่วรรค
หนึ่งมี 4 ค�ำเป็นส่วนใหญ่ บทหน่ึงมี 7 วรรค ค�ำรับส่งสัมผัสคล้ายกาพย์สุรางคนางค์ 28 ตัวอย่างบท
ท�ำขวัญเชน่ บทท�ำขวัญข้าวดงั ตอ่ ไปนี้ (ประพนธ์ เรอื งณรงค,์ 2541, น. 99)

   	 โอมสิทธี	                         	 วันนี้วันดี	 	 เป็นศรีพระยาวัน
   ฤกษ์งามยามจันทร์	                   จะท�ำขวัญแม่โพสพ	 ในพื้นพสุธา	    แมก่ รู กั ษามาทวั่ จบ
   	 เจ้าพระคุณแม่โพสพ	 	 รักษาจบทุกภาษา	 	 วันน้ีลูกร้องเชิญด�ำ
   เนินขวัญแม่กูมา	                    ชั้นช่องห้องเหวผา	 ในถ้ําลาซอกล�ำเนา	 นางคงคาทง้ั เจด็ ชน้ั

ภาพที่ 10.3	เพลงบอกปานบอด 		           ภาพที่ 10.4 การแสดงร็องแง็ง
	  ศิลปินเพลงบอก	                      	ท่ีมา: www.google.co.th/search?q=รองเง็ง สืบค้นเมื่อวันท่ี 15 มีนาคม 2561.
	 ช้ันครูเมืองนครฯ
ท่ีมา:	 วิมล ด�ำศรี, 2553, น. 55. 	

ลักษณะค�ำประพันธ์ของวรรณกรรมลายลักษณ์

       วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตป้ ระเภทลายลกั ษณจ์ ะเขยี นลงในสมดุ ไทยซง่ึ ชาวภาคใตเ้ รยี กวา่ หนงั สอื
บุด นา่ จะมาจากรากศัพท์ในภาษาสนั สกฤตว่า ปุสตกะ หรือภาษาบาลีว่า โปตถกะ หมายถงึ คัมภรี ์ หรอื
ใบลาน เน้อื กระดาษท�ำมาจากไม้ข่อย เนอ้ื กระดาษน้ีจะทำ� เปน็ สองสีคอื ขาวกบั ดำ� หากเนื้อกระดาษสขี าว
จะเขียนด้วยหมึกสีด�ำ และเรียกหนังสือที่เขียนว่า หนังสือบุดขาว หากเน้ือกระดาษสีด�ำ จะใช้หมึก
สขี าวเขยี น เรียกหนังสอื นัน้ วา่ หนังสือบุดด�ำ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33