Page 33 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 33

วรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคใต้ 10-23

	 	 เสร็จประกาศก็แคล้วก็คลาดคระไล
	 ด�ำเนิน ณ ท้องถนนจะไป	         วิหารพลัน
	 	 เพ่ือเจ้าเฝ้าพระศาสดา ณ วัน
	 เผอิญก็คํ่าจะเฝ้ามิทัน	        พระจอมอารย์

            4.7 ฉนั ท์ 21 ทพ่ี บ คอื สทั ธราฉนั ท์ บทหนง่ึ มี 4 วรรค วรรคทห่ี นงึ่ และสองมี 7 คำ� วรรคทสี่ าม
มี 4 ค�ำ และวรรคที่สี่มี 3 ค�ำ รวมเปน็ 21 คำ� จงึ เรียกฉันท์ 21

            ตัวอย่างวรรณกรรมภาคใต้ท่ีแต่งด้วยสัทธราฉันท์ 21 เช่น เรื่อง “อุเทนค�ำฉันท์” ดังน้ี
(ชวน เพชรแกว้ , 2548ง, น. 166)

	 	 บัดขุนคลังทูลประมูลเคา-	 รพยธนาฤๅเอา
	 ไป่บ่เทียบท้าว	 	              อุเทนเธอ
	 	 เมืองโสฬศน้ีมิมีเสมอ	 ธนยศพลเออ
	 ใครจะเลิศเลอ	 	                ฤทันธัญ	
	 (ธัญ, = รุ่งเรือง มั่งมี)

            คำ� ประพนั ธป์ ระเภทฉนั ทใ์ นวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตท้ ใ่ี ชแ้ ตง่ วรรณกรรมแตล่ ะเรอื่ งนนั้ มไิ ด้
ใช้ฉันท์ชนิดใดชนิดหน่ึงหรือหลายชนิดรวมกันตลอดทั้งเรื่อง แต่จะใช้ค�ำประพันธ์ประเภทกาพย์ ทั้ง
กาพยย์ านี 11 กาพยฉ์ บงั 16 และกาพยส์ รุ างคนางค์ 28 แตง่ สลบั กนั ในลกั ษณะทบ่ี างตอนใชฉ้ นั ทบ์ างตอน
ใช้กาพย์ แต่ค�ำประพันธ์ในภาพรวมของวรรณกรรมเร่ืองน้ันจะเรียกว่า “ค�ำฉันท์” ซึ่งเป็นแบบที่ใช้ใน
วรรณคดีราชส�ำนกั ของภาคกลาง

    	 “ฉบงั ” หรอื กาพยฉ์ บบั 16	 “๒๘” หรอื กาพยส์ รุ าคนางค์ 28	 “ยานี” หรอื กาพย์ยานี 11
               ภาพที่ 10.5 การบอกลักษณะคำ�ประพันธ์ในวรรณกรรมลายลักษณ์ภาคใต้

ท่ีมา:	 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม สถาบันราชภัฎนครศรีธรรมราช, 2543.
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38