Page 35 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 35

วรรณกรรมท้องถน่ิ ภาคใต้ 10-25

       เพื่อให้ผู้ศึกษาเห็นภาพรวมเกี่ยวกับเนื้อหาของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้อย่างชัดเจน จึงจะ
กลา่ วถึงเนื้อหาของวรรณกรรม 2 ประเดน็ คอื เน้ือหาของวรรณกรรมมุขปาฐะและลายลกั ษณ์ ดังนี้

เน้ือหาของวรรณกรรมมุขปาฐะ

       อาจกล่าวว่าวรรณกรรมมุขปาฐะเป็นส่วนหนึ่งในวิถีชีวิตของชาวปักษ์ใต้ก็ว่าได้ เนื่องจากเป็นสิ่ง
ทมี่ ีอยู่แล้วในภาษาพูดซงึ่ ใชส้ อื่ สารตามวตั ถปุ ระสงค์ต่างๆ เชน่ ในวงสนทนาจะเลา่ นทิ าน เล่นทายปริศนา
ค�ำทาย หรือหากบ้านใดมีปู่ย่าตายายและบ้านนั้นมีเด็กทารกหรือเด็กวัยเยาว์ ปู่ย่าตายายก็จะร้องเพลง
กลอ่ มเดก็ ใหฟ้ งั อาจฟงั เฉยๆ หรอื ฟงั ขณะนอนหลบั กไ็ ด้ วรรณกรรมมขุ ปาฐะในทอ้ งถน่ิ ภาคใตอ้ าจจำ� แนก
เนอ้ื หาทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ส่ิงใดส่งิ หนงึ่ ในภาพรวมได้ 4 ลกั ษณะ คอื ธรรมชาติ สงิ่ เหนอื ธรรมชาติ วถิ ชี ีวติ ของ
ผู้คน และวรรณกรรม มรี ายละเอียดและตัวอย่างดังตอ่ ไปนี้

       1. 	ธรรมชาติ ธรรมชาตทิ อ่ี ยรู่ อบตวั ผคู้ น ไมว่ า่ จะเปน็ ภเู ขา ตน้ ไม้ ทะเล หว้ ย หนอง พระอาทติ ย์
พระจนั ทร์ ดวงดาว และสตั ว์ สามารถนำ� มาใชเ้ ปน็ เนอ้ื หาในการสรา้ งสรรคว์ รรณกรรมขุ ปาฐะไดท้ ง้ั สน้ิ เชน่
ปริศนาค�ำทายที่ใช้พืช คือมะขาม ใช้สัตว์ คือหอยโข่ง และใช้ผลมะพร้าวท่ีแตกหน่อ มาตั้งเป็นโจทย์ให้
ค้นหาค�ำตอบ ทั้งมะขาม หอยโข่ง และผลมะพร้าวที่แตกหน่อล้วนมีอยู่ในธรรมชาติ เช่น (วิมล ด�ำศรี,
2539, น. 101, 118)

            - เมือ่ สาวคบั แปฺล้ เมื่อแก่หลวมโพฺรก (หลวมโพรฺ ก = หลวมมาก) หมายถงึ มะขาม
            - หนา้ แลง้ เขา้ ถา้ํ หน้านา้ํ เที่ยวจร ไว้ผมเหมือนมอญ นามวา่ ไหร (ไหร = อะไร) หมายถงึ
หอยโข่ง
            - กำ� แพงสามช้ัน ลอ้ มกัน้ วารี ดวงมณีอยูใ่ น ธงชัยอยบู่ น หมายถงึ มะพร้าวงอก
       2. สิ่งเหนือธรรมชาติ คือส่ิงท่ีมิได้มีอยู่โดยปกติท่ัวไปแต่อาจสัมผัสได้ด้วยการมองเห็นหรือการ
รับรู้ได้อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เทวดา และผี วรรณกรรมมุขปาฐะในท้องถ่ินภาคใต้มีจ�ำนวนไม่น้อยที่มี
เนอ้ื หาเกยี่ วกบั สง่ิ เหนอื ธรรมชาตเิ หลา่ น้ี เชน่ เพลงกลอ่ มเดก็ บทหนง่ึ ทกี่ ลา่ วถงึ เทวดาผหู้ ญงิ หรอื นารเี ทพ
4 องค์ ซง่ึ ชาวปกั ษเ์ รียก “แมเ่ ซอ้ ” หรือ “แม่ซ้อื ” เมอื่ เด็กทารกเกดิ มาก็จะมแี มซ่ ื้อนม้ี าชว่ ยปกปักรกั ษา
บา้ งอาบนํ้า บ้างปอ้ นขา้ ว ดงั บทเพลงว่า (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2541, น. 81)

	 	 น้องนอนเหอ	                        นอนให้หลับดี
	 แม้เซ้อทั้งส่ี	 	                    มาช่วยพิทักษ์รักษา
	 อาบน้ําป้อนข้าว	 มารักษาเจ้าทุกเวลา
	 มาช่วยพิทักษ์รักษา	                  เด็กอ่อนนอนในเปลเหอ
	 (แม่เซ้อ = แม่ซื้อ เป็นนารีเทพที่คอยปกปักรักษาเด็กทารก)

       3. วิถีชีวิตของผู้คน การด�ำรงชีวิตของแต่ละคนมกั เกยี่ วขอ้ งกับสง่ิ ตอ่ ไปน้ี คอื อารมณ์ความรู้สึก
ซ่ึงมีหลากหลายแปรเปลี่ยนไปตามเหตุและปัจจัยที่มากระทบความรู้สึกนึกคิดก่อเกิดเป็นนามธรรมต่างๆ
ไมว่ ่าจะเปน็ ดีใจ เสียใจ โกรธ รัก และชัง นอกจากนแ้ี ตล่ ะคนก็ตอ้ งมกี ารประกอบอาชพี เพอื่ หลอ่ เล้ยี งชวี ิต
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40