Page 40 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 40

10-30 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถ่ินไทย

กิจกรรม 10.1.3
       1. 	จงพจิ ารณาวา่ เพลงกล่อมเดก็ ต่อไปนม้ี เี นือ้ หาเดน่ ด้านใด

	 	 ครือน้องเหอ 	                     ครือนางนกกวัก
	 หน้าตาดีดัก 	 	                     มาตายด้วยไม้ไผ่ซีก
	 ตายห้วยตายหนอง	                     ตายดองปูฉีก
	 มาตายด้วยไม้ไผ่ซีก	                 ฉีกขาคารูปูเหอ

       2. เนื้อหาของวรรณกรรมลายลักษณ์ท้องถิ่นภาคใต้ลักษณะใดบ้างท่ีไม่ปรากฏในวรรณกรรม
มุขปาฐะ ให้ยกตวั อย่าง 2 ลักษณะ พรอ้ มยกตวั อยา่ งชอ่ื เรอ่ื งวรรณกรรมลายลักษณ์นั้น 3 ชือ่ เรอื่ ง

แนวตอบกิจกรรม 10.1.3
       1. 	เพลงกลอ่ มเด็ก “นางนกกวัก” มีเน้อื หาเกีย่ วกับสัตวท์ ีท่ �ำใหเ้ กิดอารมณ์ขนั
       2. 	เนอ้ื หาของวรรณกรรมลายลกั ษณ์ทีไ่ ม่ปรากฏในวรรณกรรมมขุ ปาฐะ เชน่
            2.1 ตำ� รา เชน่ ต�ำราช่าง ต�ำราแพทย์ และตำ� ราโหราศาสตร์
            2.2 กฎหมาย เชน่ พระอัยการ หลกั อินทภาษ และลกั ษณะผัวเมยี

เรื่องที่ 10.1.4
สุนทรียภาพ

       สนุ ทรยี ภาพทางภาษา หมายถงึ ความไพเราะงดงามของการใชถ้ ้อยคำ� ซงึ่ เปน็ ผลมาจากเสียงและ
ความหมายทผ่ี สู้ รา้ งจดั สรรไดอ้ ยา่ งลงตวั วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตท้ งั้ วรรณกรรมมขุ ปาฐะและลายลกั ษณ์
ล้วนอุดมไปด้วยสุนทรียภาพทางภาษา เช่น เพลงกล่อมเด็กที่เม่ือเด็กได้ยินหรือได้ฟังผู้เป็นแม่หรือผู้ขับ
ร้องขับกล่อมให้ฟังแล้ว เด็กก็จะได้สัมผัสถึงความไพเราะของท่วงท�ำนองแล้วหลับไปหรือแม้ไม่หลับก็นิ่ง
ฟงั ไมร่ อ้ งไหร้ บกวนแมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งดู หรอื วรรณกรรมลายลกั ษณป์ ระเภทนทิ านเรอื่ ง “สรรพลหี้ วน” ซงึ่ ดเี ดน่
ในเรอื่ งในการใชค้ ำ� ผวน เมอื่ ผวนคำ� กลบั แลว้ ถอ้ ยคำ� นน้ั มคี วามหมายในเชงิ สองแงส่ องมมุ ผอู้ า่ นหรอื ผฟู้ งั
กเ็ กิดความสนกุ สนานครน้ื เครง

       วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้มสี ุนทรยี ภาพทางภาษาที่โดดเด่น 2 ประการ คือ สนุ ทรียภาพในลลี า
ของถ้อยค�ำ และสุนทรยี ภาพในลลี าของความหมาย กลา่ วรายละเอียดดงั นี้
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45