Page 43 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 43

วรรณกรรมท้องถ่นิ ภาคใต้ 10-33

            เพลงกล่อมเด็กขา้ งตน้ ค�ำท่มี นี ํา้ เสยี งเบาซง่ึ เป็นคำ� รับสง่ สัมผสั คอื เถื่อน กบั เดือน และคำ�
ท่ีมีนํ้าเสยี งหนกั คือ จบั กับ หลับ

            หรอื ตวั อยา่ งวรรณกรรมลายลกั ษณท์ แี่ ตง่ เปน็ บทรอ้ ยกรองและใชค้ ำ� ทมี่ นี าํ้ เสยี งหนกั เบามา
รบั ส่งสัมผสั เชน่ บทวรรณกรรมเรื่อง “ทุคตะ” ต่อไปน้ี (ศภุ วรรณ สอนสังข,์ 2532, น. 61)

	 รักนางเสมือนจิต	 	 เจ้าอย่าควรคิด	 	 ว่าเรียมจักใคร	
จึงท้ิงน้องเสีย	        จะเยียรักใคร่	  ตราบเท่าพ่ีลัย	 พี่ลาศม้วยมรณ์
	 ว่าพลางโลมนาถ	 	 ทอดกรกอดสวาท	 นิ่มเนื้อศรีสมร	
น้องท้าวบ่อาจ	          ขืนขัดอนาถ	     คล้อยตามใจวร	 ช่ืนชมหรรษา

            ตวั อย่างบทวรรณกรรมข้างตน้ คำ� ทมี่ นี ํ้าเสียงหนกั ซึง่ ใช้เป็นคำ� รบั สง่ สมั ผัส คือ จิต กบั คิด,
นาถ กบั (ส)วาท, อาจ กับ (อ)นาถ

            ส่วนค�ำท่ีมีน้ําเสียงเบาซึ่งใช้เป็นค�ำรับส่งสัมผัส คือ ใคร กับ ใคร่ และ ลัย, มรณ์ กับ
(ศรสี )มร และ วร

       1.2 	การเลน่ คำ� วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ ทงั้ มขุ ปาฐะและลายลกั ษณม์ กี ลวธิ กี ารสรา้ งสนุ ทรยี ภาพ
ดว้ ยวธิ ีการเล่นค�ำทีม่ ีลกั ษณะเดน่ 3 กลวิธี คือ การซํา้ คำ� การหลากคำ� การผวนค�ำ ดังน้ี

            1.2.1 	การซํ้าค�ำ คือ การใช้ค�ำเดมิ ซํ้ามากกว่า 1 ครัง้ เพ่อื ย้ําความหมายใหแ้ จ่มชดั ขึน้ การ
ซํ้าค�ำในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้มีใช้อย่างหลากหลาย ท้ังในวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรม
ลายลักษณ์

            ตัวอย่างการซ้ําค�ำในวรรณกรรมมุขปาฐะท้องถิ่นภาคใต้ พิจารณาได้จากเพลงกล่อมเด็ก
ต่อไปนี้ (วรวรรธน์ ศรยี าภยั , 2541, น. 238)

			 ตัดถัวเหอ	                          อย่าย่ัวอย่าแยง
		ตัดถัวช้างแทง	                        แยงน้องเอาไหร
	 	 แยงเอาผ้านุ้ง	                      หลุ้งเอาแหวนใส่
	 	 แยงน้องเอาไหร	                      ตัดถัวร้อยพันท่อนเหอ
		 (ตัดถัว = ค�ำด่า ในท้องถ่ินสุราษฎร์ธานีใช้ว่า “ตัดถัว” แต่ในท้องถ่ิน
นครศรีธรรมราช พัทลุง หรือจังหวัดภาคใต้ตอนล่างอีกหลายจังหวัดใช้ว่า “ตัดหัว” หมายถึงตัดศีรษะ,
หลุ้ง = เอาไม้กระทุ้ง)

            จากตัวอย่างเพลงกล่อมเด็กข้างต้น มีการซํ้าค�ำว่า “ตัดถัว” 3 คร้ัง “อย่า” 2 คร้ัง และ
“แยง” 4 คร้ัง การซา้ํ ค�ำดงั กล่าวเป็นการตอกยํ้าใหก้ ารสอ่ื ความหมายมคี วามหนกั แนน่ ยิ่งข้ึน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48