Page 44 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 44

10-34 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมท้องถิน่ ไทย

            ตวั อยา่ งบทวรรณกรรมลายลกั ษณท์ ม่ี กี ารซาํ้ คำ� เชน่ เรอ่ื ง “พระมหาชาดกคำ� กาพย:์ ฉบบั วดั
มัชฌิมาวาส” มดี ังนี้ (สาคร บุญเลิศ. 2548, น. 99) 	

       	 เสือเฒ่านอนอยู่ดีดี	 เอาไม้แยงตี	 เหล่าอีพวกพาลแพศยา...
       	 แต่กูอดเฉยนักหนา	 เจ้าอบิดิดา	 น่ิงให้มันมาด่าไย
       	 ด่ามาด่าม่ังเป็นไร	 ตีมาตีไป	 ตบมาตบม่ังอย่าขาม

            บทประพนั ธ์ข้างต้นมีการซา้ํ ค�ำว่า “ดี” 2 ครง้ั “ด่า” 3 ครัง้ “ตี” 2 ครงั้ และ “ตบ” 2 คร้งั
การซํ้าค�ำดงั กลา่ วนบั เป็นกลวิธกี ารสรา้ งสุนทรยี ภาพในบทวรรณกรรมอย่างหน่ึง

            1.2.2 	การหลากค�ำ เป็นการใช้ค�ำท่ีมีรูปค�ำต่างกันแต่ส่ือความหมายอย่างเดียวกัน กลวิธี
เช่นนี้เป็นศิลปะการใช้ภาษาอย่างหน่ึงท่ีท�ำให้วรรณกรรมมีสุนทรียภาพ วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ท้ัง
มขุ ปาฐะและลายลกั ษณม์ ีการหลากคำ� เป็นอนั มาก

            ตัวอย่างวรรณกรรมมุขปาฐะท้องถ่ินภาคใต้ที่มีการหลากค�ำ เช่น เพลงกล่อมเด็กต่อไปนี้
(วรวรรธน์ ศรยี าภัย, 2541, น. 213)

		  	 นอนหลับแม่เวเหอ	                 นอนเปลแม่ช้า
		  นอนในเปลผ้า	                       โลอ์เหอจะกล่อมให้เจ้านอน
		  เม่ือเจ้าหลับแล้ว	                 โลอ์เหอแม่จะลาไปก่อน
		  เจ้าทรามบังอร	                     อย่าเศร้าโศกา
		  เป็นกรรมของโลอ์แล้ว	               มาเกิดโลอ์แก้วในภูผา
		  ตกต่ําก�ำพร้า	                     หลับแล้วแม่ลาไปเหอ
		  (เว = ไกว, โลอ์ = ลูก)	

            จะเหน็ ไดว้ ่าเพลงกลอ่ มเด็กขา้ งต้น ค�ำว่า “โลอ์, เจา้ , เจา้ ทรามบงั อร, โลอ์แก้ว” แมจ้ ะมรี ูป
คำ� ต่างกนั แต่มีความหมายเหมือนกันคอื ลูกซ่งึ นอนอยู่ในเปล และแม่กำ� ลังรอ้ งเพลงกลอ่ ม

            1.2.3 การผวนคำ� เปน็ วธิ กี ารพดู หรอื อา่ นกลบั คำ� จงึ จะมคี วามหมาย เชน่ “ขดั ผา้ ว” ผวนกลบั
เปน็ “ขา้ วผดั ” “ปากาก” ผวนกลบั เป็น “ปากกา” และ “รนตย์ ถ” ผวนกลบั เป็น “รถยนต์” การผวนคำ�
ดงั กลา่ วในวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตน้ บั เปน็ กลวธิ กี ารสรา้ งใหเ้ กดิ สนุ ทรยี ภาพอยา่ งหนง่ึ ในบทวรรณกรรม
และปรากฏทั้งวรรณกรรมลายลกั ษณแ์ ละมุขปาฐะ

            ตัวอย่างการผวนค�ำในวรรณกรรมมุขปาฐะ เชน่ ปริศนาค�ำทายนี้ (วมิ ล ด�ำศร,ี 2539, น.
118-119)

                - 	ไข่หลุด ไข่หลั้ว สาหัวไข่ (ขุดไหล ควั่ ไหล ใสห่ วั ขา่ ) (ไหล = ปลาไหล)
                - 	เนาขก เกาะหางทน พอเห็นคามน ก็บินไป (นกเขา เกาะหนทาง พอเห็นคนมา
กบ็ นิ ไป)
                - 	ผีชัก ยายหวอด จอมหัน ม้วนดีด (ผักชี ยอดหวาย จันทร์หอม มดี ดว้ น)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49