Page 45 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 45

วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้ 10-35

            สว่ นตวั อยา่ งวรรณกรรมลายลักษณ์เช่นเรื่อง “สรรพลี้หวน” ดงั น้ี (สนทิ บุญฤทธ์ิ, 2548,
น. 209)

	 	 นครังยังมีท่าผีแหน	      กว้างยาวแสนหน่ึงคืบสืบยศถา
	 เมืองห้างกวีรีหับระยับตา	  พันหญ้าคาปูรากเป็นฉากบัง
	 	 สูงพอดีหยีหิบพอหยิบติด	 ทองอังกฤษสลับสีด้วยหนีหัง
	 ก�ำแพงมีรีหายไว้ขอดัง	     เจ้าจอมวังพระราโชท้าวโคตวย
	 (พัน = พันธุ์, ผีแหน ห้างกวี รีหับ หยีหิบ หนีหัง รีหาย ขอดัง ท้าวโคตวย = ค�ำท่ีต้อง
ผวนจึงมีความหมาย)

2. 	สุนทรียภาพในลีลาของความหมาย

       วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ภาคใต้ตอนหนึ่งบอกเล่าสาระตามท่ีผูป้ ระพันธ์ต้องการ ภาษาที่ใช้จะแตกต่าง
ไปตามประเภทวรรณกรรมและผเู้ ขยี น หากเปน็ วรรณกรรมมขุ ปาฐะกม็ ภี าษาอยา่ งหนงึ่ ถา้ เปน็ วรรณกรรม
ลายลกั ษณก์ ม็ ภี าษาอกี อยา่ งหนงึ่ อยา่ งไรกต็ ามลกั ษณะการใชภ้ าษาดงั กลา่ วมงุ่ ไปสจู่ ดุ หมายเดยี วกนั นนั่
คือสุนทรียภาพทางภาษาซ่ึงเกิดขึ้นจากท่วงทีลีลาแห่งความหมายของถ้อยค�ำท่ีน�ำมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน
สุนทรียภาพจากลีลาของความหมายในถ้อยค�ำที่ปรากฏในวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้มีลักษณะเด่น 3
ประการ คือ ลลี าวรรณกรรม โวหาร และภาพพจน์ ดงั นี้

       2.1 	ลีลาวรรณกรรม ลีลาวรรณกรรมนี้เรียกว่าท่วงท�ำนองการประพันธ์หรือการแต่งก็ได้ ลีลา
วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตท้ ง้ั มขุ ปาฐะและลายลกั ษณม์ ี 4 ลลี า เชน่ เดยี วกบั วรรณกรรมหรอื วรรณคดที ว่ั ไป
คือ เสาวรจนี นารปี ราโมทย์ พิโรธวาทัง และสัลลาปังคพสิ ัย กล่าวตามลำ� ดบั ดงั นี้

            2.1.1 	เสาวรจนี เป็นลีลาภาษาทกี่ ล่าวชมความงามของตัวละคร บา้ นเมอื ง หรอื ส่งิ ใดกไ็ ด้
ที่กวหี รือผู้ประพนั ธ์ปรารถนาจะกล่าวชม เชน่ ตอนหน่ึงของเพลงบอกยอเกยี รติพระมหากษัตรยิ ไ์ ทยของ
เพลงบอกเนตร ชลารัตน์ ดงั น้ี (วมิ ล ดำ� ศรี, 2547, น. 148)

	 	 	 องค์จักรีถึงที่เก้า	   ขอน้อมเกล้าบังคมบาท
	 	 พระภัทรมหาราช	           ท่ีไทยเรามาดหมาย
	 	 	 องค์บรมสมเด็จพระราชินี	 ทั้งสองสูงศรีเพริศพราย
	 	 ดังหน่ึงได้จากฟากฟ้า	    เสด็จลงมาดิน

            2.1.2 นารีปราโมทย์ เปน็ ลลี าภาษาทใ่ี ชเ้ กย้ี วพาราสซี งึ่ สว่ นมากแลว้ ผชู้ ายจะใชเ้ กย้ี วพาราสี
ผู้หญงิ ตวั อยา่ งลีลาภาษานารีปราโมทยใ์ นเพลงกลอ่ มเดก็ บททแ่ี สดงความรกั ของผชู้ ายทมี่ ีตอ่ สตรเี พื่อให้
สตรีตอบรบั รกั ตน มีดงั นี้ (วิมล ด�ำศร,ี 2539, น. 100)
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50