Page 50 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 50

10-40 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถ่นิ ไทย

กิจกรรม 10.1.4
       จงพิจารณาตัวอย่างบทประพันธ์ในวรรณกรรมเรื่อง “สุทธิกรรมชาดก” (ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม,

2522, น. 132-133) แลว้ ตอบค�ำถาม

	 พระโพธิสัตว์	   	 ทูลท้าวพรหมทัต	 	 เป็นอรรถพิสดาร	
ว่าเชิญพระองค์	   จงเสวนาการ	          แห่งบูรพาจารย์	 สืบสืบกันมา
	 ผู้ใดบาปมาก	    	 เกิดมาตกยาก	 	 เป็นข้าทาสา	
ด้วยอกุศล	        อทินนาทานา	          ตนได้ท�ำมา	          เกิดท้องเข็ญใจ
	 ท่านใช้ท�ำการ	  	 ทุกสิ่งการงาน	 	 หนักเบาท�ำไป	
ผิดพลั้งตีด่า	    อาญาข้าไทย	          แต่พิจารณาได้	       โดยเท่าโทษทัณฑ์

1. 	จงยกตวั อย่างสุนทรยี ภาพในลลี าของถ้อยค�ำ 3 ตวั อยา่ ง
2. 	จงยกตัวอย่างสนุ ทรยี ภาพในลีลาของความหมาย 3 ตัวอยา่ ง

แนวตอบกิจกรรม 10.1.4
       1. 	ตัวอยา่ งสนุ ทรียภาพในลลี าของถอ้ ยค�ำ 3 ตัวอย่าง มีดังน้ี
            1.1 	คำ� สมั ผสั อกั ษร เชน่ “ทา้ ว” กบั “ทูล” และ “เท่า” กับ “โทษ” และ “ทณั ฑ์”
            1.2 	คำ� สมั ผสั สระ เช่น “ข้า” กับ “ทาสา” และ “อาญา” กับ “ข้า(ไทย)”
            1.3 	การซาํ้ คำ� ไดแ้ ก่ “สบื สืบ”
       2. 	ตัวอยา่ งสุนทรยี ภาพในลลี าของความหมาย 3 ตัวอยา่ ง มดี งั น้ี
            2.1 	เน้ือหาของกาพย์สรุ าคนางค์ 28 ท้งั 3 บท เป็นบรรยายโวหาร
            2.2	บทเทศนาโวหาร เชน่ “ทา่ นใชท้ ำ� การ ทกุ สงิ่ การงาน หนกั เบาทำ� ไป ผดิ พลงั้ ตดี า่ อาญา

ขา้ ไทย แตพ่ จิ ารณาได้ โดยเท่าโทษทณั ฑ์”
            2.3	ภาพพจน์อุปลักษณ์ เช่น “ผู้ใดบาปมาก เกิดมาตกยาก เป็นข้าทาสา ด้วยอกุศล”

เป็นการเปรยี บเทยี บ “ผู้ใดบาปมาก” กับ “ข้าทาสา”
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55