Page 51 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 51

วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้ 10-41

ตอนที่ 10.2
วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ท่ีส�ำคัญ

โปรดอ่านหัวเรอ่ื ง แนวคดิ และวตั ถุประสงคข์ องตอนที่ 10.2 แลว้ จึงศกึ ษารายละเอียดต่อไป

  หัวเร่ือง

         10.2.1 	วรรณกรรมมุขปาฐะทส่ี �ำคญั
         10.2.2 	วรรณกรรมลายลกั ษณ์เร่ืองสำ� คัญ

  แนวคิด

         1. 	วรรณกรรมมุขปาฐะท่สี �ำคญั ของทอ้ งถ่นิ ภาคใตท้ งั้ ปรศิ นาคำ� ทาย เรอ่ื งเล่า เพลงกลอ่ ม
            เด็ก บทหนังตะลุงและโนรา ตลอดจนเพลงสมัยใหม่ มีรูปแบบการสร้างสรรค์ที่เป็น
            รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง โดยเรอ่ื งเล่าจะมรี ูปแบบเป็นร้อยแกว้ เพลงกล่อมเดก็ และเพลง
            สมัยใหม่มีรูปแบบเป็นร้อยกรอง ในขณะท่ีปริศนาค�ำทาย บทหนังตะลุงและโนรามี
            รูปแบบเป็นท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง วรรณกรรมมุขปาฐะดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายและ
            เนอ้ื หาทตี่ า่ งกนั ไปตามทผี่ สู้ รา้ งสรรคป์ ระสงค์ สว่ นคณุ คา่ นน้ั ในภาพรวมแลว้ จะใหค้ ณุ คา่
            ในด้านอารมณ์ สังคม และภูมปิ ญั ญา

         2.	จารึกแผ่นทองท่ีปลียอดพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช นิราศชื่น (นิราศเรือนจ�ำ)
            สรรพล้ีหวน ลิลิตโสฬศนิมิต และวรรณกรรมร่วมสมัย เป็นวรรณกรรมลายลักษณ์ใน
            ทอ้ งถน่ิ ภาคใตท้ ใี่ ชภ้ าษาไทยถนิ่ ใตเ้ ปน็ วสั ดใุ นการสรา้ งสรรคซ์ งึ่ คดั เลอื กมาใหศ้ กึ ษานน้ั
            เปน็ วรรณกรรมของทอ้ งถน่ิ ภาคใตโ้ ดยเฉพาะ ไมป่ รากฏในภาคอน่ื วรรณกรรมทเี่ กา่ สดุ
            คอื จารกึ แผน่ ทองทปี่ ลยี อดพระมหาธาตเุ จดยี น์ ครศรธี รรมราชมรี ปู แบบการประพนั ธเ์ ปน็
            รอ้ ยแกว้ ส่วนเร่อื งทีเ่ หลืออกี สเ่ี รอื่ งมรี ูปแบบการประพนั ธเ์ ป็นรอ้ ยกรอง สรรพลี้หวนจะ
            มลี ลี าภาษารอ้ ยกรองทเ่ี ปน็ อตั ลกั ษณ์ สว่ นเรอื่ งอนื่ จะมลี ลี ารอ้ ยกรองในทำ� นองเดยี วกนั
            จะเห็นได้ว่ากวีชาวปักษ์ใต้มีการสร้างสรรค์วรรณกรรมท้องถ่ินของตนมาทุกยุคสมัย
            วรรณกรรมร่วมสมัยเป็นหลักฐานแสดงการสร้างสรรค์วรรณกรรมลายลักษณ์ท้องถ่ิน
            ภาคใตย้ ังคงมีอย่จู นกระท่งั ปัจจุบัน

  วัตถุประสงค์

         เมื่อศกึ ษาตอนที่ 10.2 จบแลว้ นักศกึ ษาสามารถ
         1. 	อธบิ ายวรรณกรรมมุขปาฐะท่ีส�ำคัญได้
         2. 	อธบิ ายวรรณกรรมลายลกั ษณเ์ รอ่ื งส�ำคญั ได้
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56