Page 52 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 52

10-42 ภาษาถ่นิ และวรรณกรรมท้องถนิ่ ไทย

เรื่องที่ 10.2.1
วรรณกรรมมุขปาฐะท่ีส�ำคัญ

       วรรณกรรมมขุ ปาฐะทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ แตเ่ ดมิ มไิ ดบ้ นั ทกึ ไวเ้ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร อาศยั การจดจำ� และ
เล่าสบื ตอ่ กนั จากคนรุ่นหน่ึงมาสู่คนอีกร่นุ หนึง่ กาลตอ่ มาความกา้ วหนา้ ทางการเขียนและการศึกษามมี าก
ข้ึน วรรณกรรมดังกล่าวจึงมีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่ก็ยังจัดว่าเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะ
ปจั จบุ นั ผรู้ แู้ ละจำ� วรรณกรรมมขุ ปาฐะไดม้ จี ำ� นวนลดนอ้ ยถอยลงไปทกุ ขณะ เราจงึ ศกึ ษาวรรณกรรมมขุ ปาฐะ
ไดจ้ ากทม่ี กี ารบนั ทกึ ไว้เป็นสว่ นใหญ่

       เนอ่ื งจากวรรณกรรมมขุ ปาฐะของทอ้ งถนิ่ ภาคใตม้ มี ากมายหลายชนดิ แตใ่ นทน่ี จ้ี ะนำ� เสนอเฉพาะ
วรรณกรรมมขุ ปาฐะทีส่ ำ� คญั ซึ่งยงั มีการรบั รู้และใช้ประโยชน์ในแง่มมุ ใดแงม่ มุ หน่ึงจำ� นวน 5 ประเภท คือ
ปริศนาคำ� ทาย เรือ่ งเล่า เพลงกล่อมเด็ก บทหนงั ตะลุงและโนรา และเพลงสมยั ใหม่ มีดังน้ี

1. 	ปริศนาค�ำทาย

       ปรศิ นาค�ำทายเป็นวรรณกรรมมขุ ปาฐะทีผ่ ู้เรียงร้อยขนึ้ ในลกั ษณะตั้งโจทย์ไว้เพื่อให้ค้นหาค�ำตอบ
เปน็ วรรณกรรมทมี่ งุ่ ใหเ้ กิดปฏภิ าณปัญญาของท้งั ผูส้ ร้างและผูค้ น้ หาหรอื ทายค�ำตอบ การที่ผสู้ รา้ งผกู รอ้ ย
ข้อความปริศนาค�ำทายขน้ึ ได้ ตอ้ งใชค้ วามคดิ อยา่ งลุ่มลกึ คิดคน้ กลวิธีการเรียบเรยี งความคิดเปน็ ถ้อยค�ำ
เพอื่ ใหผ้ ทู้ ายหรอื คน้ หาคำ� ตอบคดิ ใครค่ รวญจนเกดิ ความเขา้ ใจแลว้ คดิ คำ� ตอบได้ ขณะทผ่ี คู้ น้ หาคำ� ตอบตอ้ ง
พินจิ พจิ ารณาว่า ค�ำตอบของปริศนาทีต่ งั้ ไว้คืออะไร หากคดิ ได้หรอื คดิ ออกกน็ บั ว่าเปน็ ความงอกงามทาง
ภมู ปิ ัญญาเป็นอย่างดี

       สาระส�ำคัญท่ีควรเข้าใจเก่ียวกับปริศนาค�ำทายในท้องถิ่นภาคใต้มี 3 ประเด็น คือ ประเภทของ
ปรศิ นาคำ� ทาย ตวั อย่างปรศิ นาค�ำทายท่สี ำ� คญั และคณุ ค่าของปรศิ นาคำ� ทาย กลา่ วตามลำ� ดับดังน้ี

       1.1 	ประเภทของปรศิ นาคำ� ทาย ปรศิ นาคำ� ทายของทอ้ งถน่ิ ภาคใตจ้ ำ� แนกตามรปู แบบการผกู รอ้ ย
ถ้อยค�ำได้ 2 ประเภท คอื ปริศนาค�ำทายร้อยแก้ว และปรศิ นาคำ� ทายร้อยกรอง ดังนี้

            1.1.1 	ปริศนาค�ำทายร้อยแก้ว ปริศนาค�ำทายประเภทนี้มีทั้งที่มีสัมผัสคล้องจองและไม่มี
สัมผัสคล้องจองมี 3 แบบ คอื แบบทข่ี ้นึ ด้วยค�ำถามแลว้ ตามด้วยขอ้ ความปรศิ นา แบบท่ีขอ้ ความปรศิ นา
เปน็ คำ� ขึ้นตน้ แล้วตามด้วยค�ำถาม และแบบค�ำผวน

            ค�ำถามท่ีใช้ขน้ึ ต้นขอ้ ความ คอื “ไอไ้ หรเหอ ไอ้ไหรเห้อ ไอไ้ หรหา ไอไ้ หร ไหรเอย้ ไหร”
หมายถงึ อะไรเอย่ หรืออะไร เช่น “ไหรเอ้ยกลมๆ เทา่ ดา้ มพร้า ไม่งา่ ขาแยงไมเ่ ขา้ ” (คนนงุ่ โจงกระเบน)

            ค�ำถามทใ่ี ชล้ งทา้ ยขอ้ ความ คือ “ไหร” หมายถงึ อะไร “ก่ี + ลกั ษณนาม” เชน่ “พระราม
ชอบสีไหร” (สีดา) และ “ไก่ 9 ขา มีก่ีตัว” (ตัวเดียว)

            1.1.2 	ปรศิ นาคำ� ทายรอ้ ยกรอง รอ้ ยกรองบทหนงึ่ ๆ เทา่ กบั ปรศิ นาคำ� ทาย 1 บท มที งั้ ปรศิ นา
ซ่อนทรัพย์ซึ่งจะไม่มีค�ำเฉลยหรือยังเฉลยไม่ได้ และปริศนาต�ำรายา เช่น ปริศนาซ่อนทรัพย์ต่อไปนี้
(วิมล ดำ� ศรี, 2539ข, น. 120)
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57