Page 57 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 57

วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคใต้ 10-47
  คลองบางแก้วเพื่อรักษาสมบัติแต่ก็มิได้ย้ายมาทันที รอจนลูกทั้งสองอายุ 19 ปี จึงจัดพิธีแต่งงาน
  ให้แล้วย้ายครอบครัวมายังบางแก้ว ต่อมาไม่นานตายายก็ถึงแก่กรรม บุตรทั้งสองท�ำการฌาปนกิจ
  แล้วน�ำอัฐิไปฝังไว้ในถํ้าคูหาสวรรค์และได้สร้างรูปพระฤๅษีตาไฟไว้เป็นอนุสรณ์ แล้วเดินทางกลับ
  บางแก้ว บุตรท้ังสองได้รับมรดกทั้งหมด แล้วปรึกษากันว่าน�ำสมบัตินั้นมาสร้างเป็นศาสนสถาน
  เพ่ืออุทิศให้ตายาย ครั้งน้ันเจ้าพระยากรุงทองมาร่วมสร้างพระมหาธาตุขึ้นท่ีวัดบางเขียนแก้วด้วย
  สถานท่ีวัดมีอาณาเขตมาจนถึงบ้านดอนจิงลาย อ�ำเภอเขาชัยสน

         ต่อมาเจ้าพระยากรุงทอง กุมารและนางเลือดขาวร่วมกันสร้างถนนจากบ้านบางแก้วถึง
  บ้านสทังและได้สร้างวัดสทังใหญ่และวัดสทิงพระข้ึนทางฝั่งตะวันออกของทะเลสาบสงขลา แล้ว
  จดั งานฉลองพรอ้ มกนั ทงั้ 3 วดั ไดจ้ ารกึ ลงในแผน่ ทองคำ� วา่ “เพลานางเลอื ดขาว” “เพลาวดั บางแกว้ ”
  หรอื “เพลาเมอื งสทงิ พระ” ตรงกบั วนั พฤหสั บดี เดอื น 8 ขน้ึ 5 คา่ํ พ.ศ. 1482 แตน่ น้ั มาบา้ นบางแกว้
  กลายเป็นชุมชนใหญ่ นางเลือดขาวกับกุมารจึงสร้างเมืองพัทลุงขึ้นแล้วปกครองเมือง คนทั่วไป
  เรียกว่า “เจ้าพระยากุมาร”

         พ.ศ. 1493 เจ้าพระยากุมารกับนางเลือดขาวทราบว่า เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชจะส่งทูตไป
  สืบหาพระบรมสารีริกธาตุที่ลังกา จึงทรงช้างจากบางแก้วไปถึงสถานที่แห่งหนึ่งพบหมีร้องไห้อยู่
  เรียกท่ีน้ันว่า “บ้านทะหมีรํ่า” ต่อมาเพี้ยนเป็นบ้านท่ามิหร�ำ อ�ำเภอเมืองพัทลุงในปัจจุบัน เมื่อถึง
  เมืองตรังท้ังสองจึงสร้างวัดแห่งหน่ึงช่ือว่า “วัดพระงาม” แล้วลงเรือไปกับคณะทูตที่ท่าเรือกันตัง
  เพ่ือแล่นเรือไปเกาะลังกา

         ต�ำนานนางเลือดขาวยังด�ำเนินไปหลายตอนจนกระทั่งนางเลือดขาวได้ข้ึนไปอยู่ ณ กรุง
  สุโขทัยเพ่ือเป็นพระมเหสีหรือนางสนม แต่ด้วยนางมีสามีแล้วและมีครรภ์มาด้วยจึงมิได้เป็น
  พระมเหสีหรือพระสนม แล้วคลอดบุตรที่สุโขทัย เจ้าเมืองขอเล้ียงไว้จนได้รับการขานนามว่า
  “เจ้าฟ้าคอลาย” ส่วนนางก็ทูลลากลับพัทลุงมาครองเมืองกับเจ้าพระยากุมารจนสิ้นอายุขัย ระหว่าง
  ท่ีครองเมืองน้ีท้ังสองได้สร้างวัดและส่ิงก่อสร้างต่าง ๆ ในแถบพัทลุง นครศรีธรรมราช ตรัง และ
  สงขลาไว้มากมาย ด้วยเหตุที่นางเลือดขาวได้ไปอยู่เมืองสุโขทัยคนท่ัวไปจึงเรียกนางว่า “เจ้าแม่อยู่
  หัวเลือดขาว” นางพระยาเลือดขาว หรือพระนางเลือดขาวจนปัจจุบัน

       2.3 คุณค่าของเรื่องเล่า เร่ืองเลา่ ในทอ้ งถ่นิ ภาคใต้ทง้ั นิทานและตำ� นานอดุ มไปด้วยคุณคา่ ท้งั ดา้ น
อารมณ์ สังคม และภูมิปัญญา ในด้านอารมณ์ ผู้รับสารจะเพลิดเพลินไปกับเน้ือหาท่ีสนุกสนาน ท�ำให้
เบกิ บานใจเช่นการได้ฟังหรืออา่ นนทิ านเรือ่ ง “เสอื ”

       ในดา้ นสังคมนน้ั จากตำ� นาน “นางเลือดขาว” จะได้รู้วา่ ท้องถน่ิ ภาคใตเ้ ปน็ เมืองพุทธศาสนาท่รี บั
อิทธิพลจากอนิ เดียโดยตรง และภาคใต้ก็อยภู่ ายใตก้ ารปกครองของกรงุ สุโขทยั ส่วนด้านภูมปิ ัญญาจะได้
ทราบประวัติความเป็นมาของการสร้างวัดและเมืองต่างๆ แม้บางประเด็นจะเกินเลยความจริงไปบ้าง แต่
ย่อมมรี ่องรอยความจรงิ รวมอย่ดู ว้ ย อันจะเป็นความรู้และความรอบรตู้ ่อไป
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62