Page 58 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 58

10-48 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมท้องถ่ินไทย

	 ภาพที่ 10.10 	รูปปั้นจำ�ลองพระนางเลือดขาวและพระเจ้าศรีธรรมโศกราช
		  ณ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช
ท่ีมา:	 www.google.co.th/search?biw=1600&bih=794&tbm สืบค้นเม่ือวันท่ี 15 มีนาคม 2561.

3. 	เพลงกล่อมเด็ก

       ชาวปักษ์ใต้จะเรียกเพลงกล่อมเด็กหลายช่ือ ได้แก่ เพลงกล่อมน้อง เพลงช้าน้อง เพลงชาน้อง
เพลงนอ้ งนอน และเพลงรอ้ งเรอื เปน็ เพลงทรี่ อ้ ยกรองขน้ึ เพอื่ ขบั กลอ่ มใหท้ ารกหรอื ลกู นอ้ ยฟงั แลว้ เกดิ ความ
เพลดิ เพลนิ จนกระทง่ั หลบั ไป หรือนิง่ ฟังโดยไม่ร้องไหร้ บกวนแมพ่ ่อหรอื พี่เลย้ี ง

       เพลงกลอ่ มเดก็ เปน็ วรรณกรรมมขุ ปาฐะทเี่ ปน็ เอกลกั ษณอ์ ยา่ งหนงึ่ ของภาคใต้ มคี วามหลากหลาย
และปรากฏอยู่ทุกพื้นถิ่น เพลงบางบทเป็นบทเดียวกันแต่ต่างส�ำนวนกัน โดยจะแตกต่างไปตามผู้ขับร้อง
แต่ละคน บางเพลงมีปรากฏอยู่ในทอ้ งถน่ิ ใดท้องถนิ่ หนง่ึ โดยเฉพาะ สาระสำ� คัญของเพลงกล่อมทจ่ี ะกลา่ ว
ในทนี่ ม้ี ี 3 ประเด็น คอื ประเภทของเพลงกล่อมเดก็ ตวั อย่างเพลงกล่อมเดก็ และคณุ ค่าของเพลงกล่อม
เด็ก ดังน้ี

       3.1 ประเภทของเพลงกล่อมเด็ก การจ�ำแนกเพลงกลอ่ มเด็กภาคใตต้ ามรูปแบบและโครงสร้าง ก็
จะไดเ้ พลงกลอ่ มเดก็ ประเภทหนง่ึ คอื แบบทม่ี ี 8 วรรค แบบทม่ี ี 10 วรรค และแบบทม่ี ี 12 วรรคขนึ้ ไป หาก
นำ� เกณฑท์ างดา้ นเนอื้ หามาจำ� แนกกจ็ ะไดเ้ พลงกลอ่ มเดก็ 2 ประเภท คอื เพลงกลอ่ มเดก็ ทม่ี เี นอ้ื หาเกย่ี วกบั
เดก็ และเพลงกลอ่ มเดก็ ทมี่ เี นอื้ หาไมเ่ กย่ี วกบั เดก็ ในทน่ี จี้ ะกลา่ วถงึ ประเภทของเพลงกลอ่ มเดก็ ตามเกณฑ์
เน้ือหาเป็นส�ำคัญ เพราะจะช่วยให้ผู้ศึกษาได้เข้าใจสารัตถะของเพลงกล่อมเด็กมากกว่าท่ีจ�ำแนกโดยใช้
รปู แบบและโครงสร้าง ดงั น้ี
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63