Page 61 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 61

วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคใต้ 10-51

จะชว่ ยประเทืองอารมณ์ของทง้ั ผู้ขบั รอ้ งเองทไี่ ดแ้ สดงซ่ึงความรักความห่วงใยทม่ี ตี อ่ เด็ก เชน่ เพลงสุดจติ
สดุ ใจ และเพลงนอ้ งนอน ทั้งยงั ไดร้ ะบายอารมณท์ ี่คับข้องอย่ใู นใจใหบ้ างเบาลง เช่น เพลงไปคอน

       ในดา้ นสงั คมเพลงกลอ่ มเดก็ จะฉายใหเ้ หน็ สภาพของสงั คมของชาวปกั ษใ์ ตท้ ผ่ี คู้ นนบั ถอื พทุ ธศาสนา
เช่น เพลงพร้าวนาเกร์ ประวัติบ้านเมือง เช่น เพลงเมืองคอน ความเป็นอยู่ของผู้คน เช่นเพลงไก่เถื่อน
นอกน้ียังให้ความรู้และความรอบรู้โดยเฉพาะเกี่ยวกับความเป็นมาและความเป็นอยู่ของผู้คนในท้องถิ่น
ภาคใตใ้ นอดตี อนั เป็นการเพมิ่ พนู ภมู ปิ ัญญาให้งอกงามย่ิงข้นึ

4. 	บทหนังตะลุงและโนรา

       การท่ีหนังตะลุงและโนราด�ำรงอยไู่ ด้นั้นสว่ นหน่ึงเพราะมภี าษาไทยถ่นิ ใต้เปน็ เครือ่ งสรา้ งเร่ืองราว
อนั มคี วามรคู้ วามคดิ แบบวถิ ชี วี ติ ชาวปกั ษใ์ ตส้ อดผสานกบั ศลิ ปนาฏกรรมของตวั หนงั ตะลงุ และโนราไดอ้ ยา่ ง
กลมกลืน บทหนังตะลุงและมโนราจึงนับว่าเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะท้องถิ่นภาคใต้ที่จ�ำเป็นต้องศึกษาให้รู้
และเข้าใจ ประเด็นส�ำคญั ที่ควรศึกษามี 3 ประการ คือ ประเภทของบทหนังตะลงุ และโนรา ตวั อย่างบท
หนงั ตะลงุ และโนราท่ีส�ำคัญ และคุณค่าของบทหนงั ตะลงุ และโนรา กลา่ วดังนี้

       4.1 	ประเภทของบทหนังตะลุงและโนรา เมื่อน�ำเกณฑ์ด้านรูปแบบการใช้ภาษาถ่ายทอดเร่ือง
ราวเพ่ือแสดงหนังตะลงุ และโนรามาจดั แบง่ ประเภทของบทแสดง จะไดบ้ ทหนงั ตะลุงและโนรา 2 ลกั ษณะ
คือ บทบรรยาย และบทสนทนา

       บทบรรยายมรี ปู แบบคำ� ประพนั ธเ์ ปน็ รอ้ ยกรองประเภทกลอน ในหนงั ตะลงุ กจ็ ะใชก้ ลอนหนงั ตะลงุ
ส่วนในโนราก็จะใช้กลอนโนราซ่ึงกลอนท้ัง 2 ประเภทนี้มีลักษณะทางฉันทลักษณ์คล้ายกัน บางคร้ังใช้
เหมือนกันก็มี หากเป็นบทสนทนามีท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง ในโนราผู้แสดงโนราจะสนทนาโต้ตอบกัน
บ้างกใ็ ชร้ อ้ ยแกว้ บ้างก็ใชร้ อ้ ยกรอง แต่ตวั แสดงในหนงั ตะลุงจะสนทนาเปน็ รอ้ ยแก้ว

       4.2 	ตัวอย่างบทหนังตะลุงและโนราท่ีส�ำคัญ บทหนังตะลุงท่ียกมาเป็นตัวอย่างนี้ เรื่อง
“อาถรรพณส์ วาท” ของนายฉนิ้ อมรมตุ หรอื หนงั ฉนิ้ อมรมตุ ตอ่ มาไดร้ บั พระราชทานนามวา่ “หนงั อรรถ
โฆษิต” แต่ชาวบ้านนิยมเรียกว่า หนังฉ้ิน ธรรมโฆษณ์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงหนังตะลุง
พ.ศ. 2532 บทหนงั ตะลุงเรอ่ื งนมี้ ีท้งั ทเ่ี ป็นรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง

       กรณีร้อยแก้วจะเป็นบทสนทนาของตัวละครในเรื่อง เช่น ตัวอย่างบทสนทนาของพระศักดิ์สุริยา
สะหม้อ และขวัญเมือง เร่ืองปรารภกันว่าหลงป่าซ่ึงต้องล�ำบากด้วยกันทุกคน ดังนี้ (เกษม ขนาบแก้ว,
2548ข, น. 283)

ศักด์ิสุริยา:	  เรามาเท่ียวหลงทางอยู่ครั้งน้ี นายสะหม้อนายขวัญเมืองก็มาพลอยล�ำบาก แล้วยัง
สะหม้อ:	        ไม่รู้ว่าจะได้กลับถึงเมืองวันไหน ยังก�ำหนดการไม่ได้เลย
                ผ มข้องใจแต่พระองค์แหละขอรับ เคยสุขส�ำราญ มาล�ำบาก กลัวจิทนไม่ไหวขอรับ
ศักด์ิสุริยา:	  เหมือนกระผมนี่ไม่สาไหรครับ พอปนนี่เพราะเราเคยจนล�ำบากมาแล้วครับ ข้องใจ
                แต่นายขวัญเมืองเขาแหละ เขาเศรษฐีเขาไม่เคยจนนะครับ
                อ้อขวัญเมืองเป็นลูกเศรษฐีเหรอ ถ้าเช่นน้ันคงได้มรดกตกทอดมามากสินะ
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66