Page 64 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 64

10-54 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ไทย

                         ภาพที่ 10.12 หนังฉิ้น ธรรมโฆษณ์ และโนราเติม

ที่มา:	 w ww.google.co.th/search?biw=1600&bih และ www.google.co.th/search?biw=1600&bih สืบค้นเม่ือวันที่ 15
     มีนาคม 2561.

       4.3 	คุณค่าของบทหนังตะลุงและโนรา บทหนงั ตะลงุ และโนรามคี ณุ คา่ เกนิ กวา่ จะจาระไนไดห้ มด
สน้ิ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามหากพจิ ารณาในดา้ นอารมณ์ สงั คม และภมู ปิ ญั ญากจ็ ะเหน็ ขอบขา่ ยแหง่ คณุ คา่ นนั้ ได้
เปน็ รปู ธรรม ในดา้ นอารมณ์ บทหนงั ตะลงุ และโนราใชป้ ระกอบการแสดง สอื่ ความรู้ ความคดิ และอารมณ์
ของผแู้ สดงเพอื่ มงุ่ ไปประเทอื งอารมณข์ องผชู้ มหรอื ผดู้ ู ถา้ เรามไิ ดช้ มการแสดงหากแตเ่ ราอา่ นบทดงั กลา่ ว
ก็จะช่วยประเทอื งอารมณ์ผ้อู า่ นได้เช่นเดยี วกนั ทำ� ใหม้ ีความเบกิ บาน แจ่มใจ สนุกสนานและไดข้ ้อคิดไป
ในตัวด้วย

       ดา้ นสงั คม จะเหน็ ไดช้ ดั เจนวา่ ในสารตั ถะของบทหนงั ตะลงุ และโนราสะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพสงั คมและ
การเมอื ง เชน่ บทสนาของตวั ละครในเรอ่ื ง “อาถรรพณส์ วาท” สะหมอ้ และขวญั เมอื งจะใหค้ วามเคารพตอ่
พระศักด์ิสุริยาด้วยว่าเป็นผู้ปกครอง ซ่ึงสะท้อนถึงการยอมรับในผู้ปกครองจากส่วนกลางของคนใน
ท้องถ่ินด้วย นอกจากนน้ั ยังมคี วามเช่ือเร่อื งยกั ษ์ ผี และการใชค้ าถาอาคม

       การท่ีบทหนังตะลุงและโนราใช้ภาษาไทยถ่ินใต้เป็นวัสดุในการสร้างสรรค์ ผู้ศึกษาก็จะได้ความรู้
เรื่องการใช้ถ้อยค�ำภาษาไทยถ่ินใต้ด้วย อันเป็นการช่วยให้เกิดความรู้และความรอบรู้ นอกจากน้ีก็จะได้
เหน็ ตวั อยา่ งการใชภ้ าษาไทยถิ่นใตท้ ่ดี เี ป็นไปตามลักษณะของภาษาไทยถน่ิ ท่ีแทจ้ ริง

5. 	เพลงร่วมสมัย

       ขณะทเ่ี พลงกลอ่ มเดก็ เพลงบอก เพลงนา หรอื เพลงอน่ื ๆ ในวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตเ้ สอ่ื มความ
นิยมลงเนื่องจากความเปลี่ยนแปลงของสังคม เพลงลูกทุ่งและเพลงเพ่ือชีวิตที่ใช้ภาษาไทยถ่ินใต้เป็นวัสดุ
ในการสร้างสรรค์ท�ำหน้าช่วยสืบทอดวรรณกรรมเพลงในท้องถิ่นภาคใต้ให้ด�ำรงอยู่ได้ ในที่น้ีจะเรียกเพลง
ลกู ทุ่งและเพลงเพอื่ ชวี ิตว่าเปน็ “เพลงรว่ มสมยั ” ของทอ้ งถน่ิ ภาคใต้
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69