Page 67 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 67

วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคใต้ 10-57

	 กินวันละแป๊ก กินวันละท่อน	  พอเมาแล้วนอน แล้วค่อยถอนตีสี่
	 เมากันให้พุ่ง แล้วไปรุ่งที่คอน	 แล้วเมาจากคอนแล้วไปนอน ปัตตานี ฮ่ีฮีฮี้
	 กินวันละแป๊ก กินวันละท่อน	  พอเมาแล้วนอน แล้วค่อยถอนตีส่ี
	 เมากันให้พุ่ง แล้วไปรุ่งที่คอน	 แล้วเมาจากคอนแล้วไปนอน ปัตตานี
	 กินวันละแป๊ก กินวันละท่อน	  พอเมาแล้วนอน แล้วค่อยถอนตีส่ี
	 เมากันให้พุ่ง แล้วไปรุ่งที่คอน	 แล้วเมาจากคอนแล้วไปนอน ปัตตานี ฮ่ีฮีฮ้ี
(ค�ำศัพท์: หลบบ้าน = กลับบ้าน, แลท่า = ดูน่าจะ, หลาว = อีก, ลูกเห้อ = ลูกเอ๋ย, แข้น =
พยายาม, ตะ = นะ, หลงเพ้อ = ลืมหลงเป็นประจ�ำ, ตัดยาง = กรีดยางพารา, รุ่ง = สว่าง, คอน =
นครศรีธรรมราช)

                         ภาพที่ 10.13 เต็ม นาวา และ Nellyka (เนลลีค่ะ)

ที่มา:	 w ww.google.co.th/search?biw=1600&bih =794&tbm=isch&sa และ www.google.co.th/search?biw=
     1600&bih=794&tbm สืบค้นเม่ือวันท่ี 15 มีนาคม 2561.

       5.3 คุณค่าของเพลงร่วมสมัย เพลงร่วมสมัยในท้องถิ่นภาคใตท้ ง้ั เพลงลกู ทุง่ และเพลงเพื่อชวี ติ มี
คุณค่าในด้านอารมณ์มากที่สุด เพราะเป็นเครื่องจรรโลงใจ อรรถรสของท่วงท�ำนองและเนื้อเพลงช่วยให้
ผฟู้ งั มีความสบายและผอ่ นคลายอารมณ์โดยเฉพาะเพลงลูกทุง่ เช่นเพลง “สาวใตใ้ จถึง” ดังทแ่ี สดงไว้แลว้
ในขา้ งต้น ส่วนเพลงเพือ่ ชีวติ เช่น เพลง “ปริญญาสุรา” จะมีท่วงท�ำนองหนักแน่นกวา่ เพลงลูกทงุ่ ชว่ ยให้
ผู้ฟังมีพลังทางอารมณ์อันเข็มแข็ง ในด้านเน้ือหาของเพลงทั้งสองชนิดน้ันล้วนแต่ให้ข้อคิดจูงใจให้
ผู้ฟังที่เป็นชาวปักษ์ใต้หวนระลึกถึงบ้านเกิดเมืองนอน ส่วนคนภาคอ่ืนก็จะได้รู้และเข้าใจความรู้สึกนึกคิด
ของชาวปักษใ์ ตไ้ ด้ระดบั หนง่ึ

       เพลง “สาวใต้ใจถึง” มีสาระแสดงถึงสภาพแวดล้อมในท้องถ่ินภาคใต้ท่ีห้อมล้อมไปด้วยทะเล มี
ศิลปะการแสดงประจ�ำถิ่นคือหนังตะลุงและโนรา ส่วนอาหารการกินท่ีส�ำคัญ เช่น แกงส้มหรือแกงเหลือง
มพี ืชผักประจ�ำถนิ่ คือ สะตอ ลูกเนียง และลกู เหรยี ง ในขณะท่เี พลง “ปริญญาสรุ า” แสดงถึงอาชพี ของ
คนชาวปักษ์ใต้ เช่น ปลูกปาล์มนํ้ามัน ปลูกยางพารา สาระส�ำคัญของเพลงน้ีคือการมุ่งให้ข้อคิดเตือนใจ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72