Page 68 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 68

10-58 ภาษาถิน่ และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ไทย
ผู้เป็นลูกซึ่งเดินทางมาอยู่ที่เมืองหลวงเพ่ือศึกษาระดับปริญญา ให้ลูกมีความพยายามในการเล่าเรียน ให้
ระลกึ ถงึ ความเหนอื่ ยยากของผเู้ ปน็ พอ่ ถา้ หากลกู ไมอ่ าจเลา่ เรยี นใหส้ ำ� เรจ็ การศกึ ษาได้ กข็ อจงกลบั ปกั ษใ์ ต้
ไปชว่ ยพอ่ แมท่ ำ� งาน อยา่ หลงระเรงิ อยใู่ นกรงุ เทพฯ ทงั้ สองเพลงดงั กลา่ วจงึ ใหค้ ณุ คา่ ดา้ นสงั คมอยา่ งเดน่ ชดั

กิจกรรม 10.2.1
       1. 	จงกล่าวถึงภาพรวมของวรรณกรรมมุขปาฐะท่ีส�ำคัญในท้องถิ่นภาคใต้มา 2 ประการ พร้อม

อธบิ ายรายละเอยี ดโดยสรุปของแต่ละประการดว้ ย
       2. จงวเิ คราะหค์ ุณคา่ ของเพลงกลอ่ มเด็กภาคใตต้ อ่ ไปนี้ให้ด้านอารมณ์ สังคม และภมู ปิ ญั ญา

	 	 ครือน้องเหอ	        ครือนางนกเหวก
	 บินสูงสุดเมฆ	 	       ปีกลายอักษร
	 ปีกหน่ึงรองน่ัง	 	    ปีกหน่ึงรองนอน
	 ปีกลายอักษร	 	        พาบินข้ามสาครไปเหอ
	 (นกเหวก = นกการะเวก)

แนวตอบกิจกรรม 10.2.1
       1. ภาพรวมของวรรณกรรมมุขปาฐะท่สี �ำคัญในทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ 2 ประการ มดี งั นี้
            1.1 รูปแบบการประพันธ์ วรรณกรรมมุขปาฐะท้องถิ่นภาคใต้มีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง

วรรณกรรมประเภทเรื่องเล่ามีรูปแบบการประพันธ์เป็นร้อยแก้วเพียงอย่างเดียว ส่วนเพลงกล่อมเด็กและ
เพลงสมยั ใหม่มีรปู แบบการประพันธ์เปน็ ร้อยกรองเพยี งอยา่ งเดยี ว ในขณะท่ีปริศนาคำ� ทาย บทหนงั ตะลุง
และโนรามีรปู แบบการประพนั ธท์ ั้งร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง

            1.2 วรรณกรรมมุขปาฐะในท้องถ่ินภาคใต้มีคุณค่าหลัก 3 ด้าน คือ อารมณ์ สังคม และ
ภมู ิปัญญา

       2. เพลงนางนกเหวกซ่ึงเพลงกลอ่ มเด็กภาคใต้มีคณุ คา่ แต่ละดา้ นดงั นี้
            2.1 	ด้านอารมณ์ มุ่งไปท่ีอารมณ์ของผู้ฟังซึ่งเป็นทารกหรือเด็กท่ีนอนอยู่ เมื่อได้ยิน

ทว่ งทำ� นองของเพลงทรี่ อ้ ยเรยี งขน้ึ ดว้ ยภาษาไทยถน่ิ ใตท้ กี่ ระชบั มสี มั ผสั คลอ้ งจอง หากขบั เปน็ ทำ� นองเพลง
ทที่ อดเสียงเนิบชา้ จะเกิดความเสนาะ อารมณผ์ อ่ งใส ลืมความกลัวทกุ สง่ิ ทุกอย่างและหลับไปในที่สุด

            2.2 	ดา้ นสังคม สะทอ้ นให้เห็นคา่ นยิ มในเรือ่ งการศกึ ษาเลา่ เรยี นของชาวภาคใต้ ทีใ่ หค้ วาม
สำ� คญั ของวชิ าความรวู้ า่ จะนำ� พาชวี ติ ผนู้ น้ั ขา้ มความยากลำ� บากทง้ั ปวง แลว้ ชวี ติ กจ็ ะพบกบั ความสขุ สบาย

            2.3 ด้านภูมิปัญญา จะเห็นถึงภูมิปัญญาในการส่ังสอนของชาวไทยปักษ์ใต้ท่ีสอนให้เห็น
ความส�ำคัญของวิชาความรู้ตั้งแต่ผู้ฟังยังเป็นเด็กวัยแบเบาะ เม่ือโตข้ึนเด็กผู้น้ันก็จะจดจ�ำเพลงที่แม่หรือ
ผู้เลย้ี งดูขับกลอ่ มให้ฟังได้ ครน้ั ได้รคู้ ดิ กจ็ ะตงั้ ใจศกึ ษาหาความรอู้ ย่างไมย่ อ่ ทอ้
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73