Page 73 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 73

วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ 10-63

       4.2 	ลกั ษณะการแตง่ ลลิ ติ โสฬศนมิ ติ แตง่ เปน็ ลลิ ติ สภุ าพ มคี ำ� ประพนั ธ์ จำ� นวน 326 บท ประกอบ
ดว้ ยร่ายสุภาพ โคลงสองสภุ าพ โคลงสามสภุ าพ และโคลงส่ีสุภาพ

       4.3 	สาระส�ำคัญและตัวอย่างตัวบทเด่น เนอ้ื หาสาระของลลิ ติ โสฬศนมิ ติ เกย่ี วขอ้ งกบั ความฝนั 16
ประการ ของพระเจ้าปสั เสน คือ 1) ววั ด้ือทีอ่ ย่ทู ั้ง 4 ทศิ คำ� รามใส่กนั แต่กลบั ไมช่ นกนั 2) ต้นไม้ซ่ึงยังเลก็
แตอ่ อกลกู ดก 3) แมว่ วั กนิ น้าํ นมลูกวัว 4) คนใหล้ ูกววั ลากเวยี น 5) ม้า 2 ปากกนิ หญ้าไม่อมิ่ 6) ลูกคน
ชนั้ สงู เอาถาดทองรองรบั อจุ จาระสตั วเ์ ดรจั ฉาน 7) ชายผหู้ นง่ึ ขวน้ั เชอื กทง้ิ ไวใ้ ตเ้ ตยี งแลว้ สนุ ขั มากนิ 8) ตมุ่
เล็กใหญ่หลายขนาดวางเรียงรายแตค่ นขนนํ้าใสเ่ ฉพาะตุ่มใหญ่ 9) สระบัวมีน้าํ ข่นุ ข้นทก่ี ลางสระ 10) ขา้ ว
หม้อเดยี วกนั มีทั้งแฉะและดบิ 11) คนเอาไม้จนั ทนแ์ ดงแลกนํ้านมบดู 12) นํา้ เต้าในผลแห้งกลวง 13) หิน
ลอยนาํ้ 14) กบเขยี ดมีพิษรา้ ยไล่กดั งู 15) หงส์ทองหอ้ มลอ้ มหงส์ช้ันต่ํา และ 16) แพะไล่กดั เสือ พระเจา้
ปัสเสนจึงให้พราหมณ์ท�ำนายฝันแต่ละประการว่าจะเกิดเหตุเภทภัยต่างๆ นานา ต้องกระท�ำการบูชายัญ
แตน่ างมาลกิ าผเู้ ปน็ พระชายาแนะนำ� ใหไ้ ปหาพระพทุ ธเจา้ พระองคท์ รงทำ� นายวา่ เหตกุ ารณน์ น้ั ยงั มเิ กดิ ขนึ้
ในยคุ พระเจา้ ปสั เสน แตจ่ ะเกดิ ขน้ึ ในกาลภายหนา้ ทรงแนะนำ� ใหพ้ ระเจา้ ปสั เสนเลกิ บชู ายญั แลว้ สรา้ งบญุ
กุศลแกป่ ระชาชน พระเจา้ ปสั เสนจะพ้นภยั บ้านเมืองกร็ ม่ เยน็ เป็นสขุ

       ลิลิตโสฬศนิมิตประกอบด้วยบทประพันธ์เด่นทุกบท ล้วนแต่น่าสนใจศึกษาท้ังด้านสารัตถะและ
วรรณศลิ ป์ เชน่ ตัวอยา่ งบทประพันธ์ท่วี ่าด้วยนิมิตฝันข้อ 8 ดังต่อไปน้ี (ชวน เพชรแกว้ , 2548ค., น. 442)

	 	 หนึ่งในนฤมิตข้อ	       อัษฎา
	 ตุ่มใหญ่ใส่อุทกา	 	      เกือบล้น
	 ตุ่มขนัดถัดรายมา	        เล็กวุ่น  มากพ่อ
	 ชนหาบชนขนพ้น	            ใส่ท้องตุ่มมหันต์…
	 	 พระแสดงเหตุแห่งเบ้ือง	 พิบัติ์
	 ในอะนาคตรสัตว์	          แสบร้อน
	 เกิดจนเพราะชนขัต์ิย-	    สนฑ์ทรัพย์ สีนนา
	 หลวงพระภาขัดข้อน	        ขุ่นแค้นเคืองเข็ญ
	 (อัษฎา = แปด, ฃาด = ขาด, พิบัต์ิ = พิบัติ, อะนาคตร = อนาคต, ขัต์ิยสนฑ์ = ขัดสน,
หลวง = งานราชการ, ภา = พา

       4.4		 คุณค่าของเรื่อง ดว้ ยลลิ ติ โสฬศนมิ ติ เปน็ วรรณกรรมคำ� สอนจงึ มคี ณุ คา่ ในฐานะเปน็ กลไกหนงึ่
ทชี่ ว่ ยใหเ้ กดิ สงั คมอดุ มปญั ญาของผอู้ าศยั ทรี่ จู้ กั ใชป้ ญั ญาใครค่ รวญคดิ ในสงิ่ ทถี่ กู ทคี่ วร นอกจากนกี้ วยี งั ได้
สอดแทรกเหตุการณ์ความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นในสังคมเน่ืองจากคนเห็นผิดเป็นชอบ และคุณค่าทางด้าน
ภาษาและศิลปะวรรณคดีท่ีกวีใช้ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร และภาษาไทยโบราณเล่าเรื่องราวได้อย่าง
น่าสนใจ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78