Page 74 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 74

10-64 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถนิ่ ไทย

5. วรรณกรรมร่วมสมัยใหม่

       นกั ประพนั ธช์ าวปกั ษใ์ ตม้ มี าทกุ ยคุ สมยั สมยั ปจั จบุ นั มนี กั ประพนั ธช์ าวปกั ษใ์ ตก้ ลมุ่ หนง่ึ สรา้ งสรรค์
วรรณกรรมไทยรว่ มสมยั โดยใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน มผี ลงานเปน็ ทย่ี อมรบั ระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ในบาง
โอกาสนักประพันธ์ชาวปักษใ์ ตน้ ัน้ กส็ ร้างสรรคว์ รรณกรรมโดยใชภ้ าษาไทยถิ่นใต้เปน็ วัสดใุ นการประกอบ
สร้างเฉกเช่นนักประพันธ์ในอดีต ท�ำให้สายธารวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ยังคงมีความต่อเน่ืองมาทุก
ยุคสมัย รายละเอียดของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ร่วมสมัยใหม่เก่ียวกับผู้ประพันธ์ ตัวอย่างวรรณกรรม
รว่ มสมยั เรอื่ งเด่น และคณุ คา่ ของวรรณกรรมรว่ มสมยั ดงั น้ี

       5.1 	ผู้ประพันธ์ นักประพันธ์ชาวปักษ์ใต้ที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับระดับชาติและนานาชาติ เช่น
ไพฑรู ย์ ธญั ญา และกนกพงศ์ สงสมพนั ธ์ุ ซง่ึ เปน็ นกั ประพนั ธท์ ไี่ ดร้ บั รางวลั วรรณกรรมสรา้ งสรา้ งยอดเยยี่ ม
แห่งอาเซียน ส่วนนักประพันธ์ชาวปักษ์ใต้ท่ีมีผลงานเป็นท่ียอมรับระดับชาติ เช่น สมใจ สมคิด จ�ำลอง
ฝัง่ ชลจิตร รตั นธาดา แก้วพรหม เตือนใจ บวั คลี่ ประพนธ์ เรืองณรงค์ ในบางโอกาสนักประพันธด์ งั กล่าว
สรา้ งสรรคว์ รรณกรรมโดยใชภ้ าษาไทยถนิ่ ใตเ้ ปน็ วสั ดใุ นการประกอบสรา้ งเฉกเชน่ นกั ประพนั ธใ์ นอดตี เชน่
“เผลง้ ตายาย” และ “เสดสา” ของประพนธ์ เรืองณรงค์ ส่วนเตอื นใจ บวั คล่ี มผี ลงานเรอื่ ง “สาวเอ๋ย”

       5.2 	ตัวอย่างวรรณกรรมร่วมสมัยเรื่องเด่น วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ร่วมสมัยเรื่องเด่น เช่น
“สาวเอ๋ย” ของเตอื นใจ บวั คลี่ เผยแพรเ่ ม่อื พ.ศ. 2538 และในครง้ั นี้นกั ประพนั ธ์อนุญาตใหผ้ ้เู ขยี นนำ� มา
เสนอไวใ้ นเอกสารชดุ นี้

                                       สาวเอ๋ย

	 ไหน? ไหน? ไดโนเสาว์เต่าล้านปี?	 ว่ากันพรรค์หน่ีได้ที่ไหน
ให้พอเหมาะพอสมสังคมไทย	                         เรามิใช่พื้นเพชาวเมกา
	 จะขึ้นสูงลงต่ําใครก�ำหนด?	                    ตัวนั่นแหละอย่าตอหลดเลยพับผ่า
ทวดเทียดของสูเป็นโนรา	 	                        ร้องบทเจรจาสะกิดใจ
	 ท�ำไหรท�ำเติ้ดยาเปิดผ้า	                      ท�ำไหรท�ำต้าไม่ว่าไหร
ชวนขบขันน่าชมสังคมไทย	                          ฟังรู้ความนัยแนวเดียวกัน
	 ยาเปิดผ้าท�ำไหรก้าท�ำเติ้ด	                   ท่านหวังเหวิดจึงว่ากลอนเพื่อสอนขวัญ
ก่อนจะเปิดคิดให้ยืดถึงพืดพันธุ์	                สุขหนึ่งวันทุกข์ทอดยาวหลอดไป
	 ไซสูมาว่าเต่าล้านปี?	                         หลับตาเถียงประเพณีไม่สาไหร!
ง้ันเชิญเล้ย..พุงใครก้าพุงใคร!	                 โนราปักษ์ใต้ขอลาโรง...
(ค�ำศัพท์: หน่ี = น้ี, ชาวเมกา = ชาวอเมริกัน, ไหร = อะไร, ก้า = ก็, เติ้ด = เถอะ, ต้า = สิ,
หวังเหวิด = เป็นห่วง, พืด = ก�ำพืด, หลอด = ตลอด, ไซ = ท�ำไม, ไม่สาไหร = ไม่ส�ำคัญ, เล้ย = เลย)

       5.3 คุณค่าของวรรณกรรมร่วมสมัย วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ร่วมสมัยมีคุณค่าไม่ต่างไปจาก
วรรณกรรมมขุ ปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์สมัยเก่า นนั่ คือมีคุณค่าในดา้ นอารมณ์ สังคม และปัญญา
ในด้านอารมณ์ยังมุ่งที่จะส�ำเริงอารมณ์ของผู้อ่านในลักษณะช่วยให้เกิดความผ่อนคลายด้วยลีลาภาษาท่ี
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79