Page 79 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 79

วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใต้ 10-69

       กรณที ่ีแตง่ กายอย่างเป็นทางการหรือให้ดพู ิถีพิถันเรียบรอ้ ยขึน้ จะนุ่งโจงกระเบน ดังเชน่ ท่ีปรากฏ
ในปริศนาค�ำทายทีว่ า่ “ไอไ้ หรเหอ กลมกลมเท่าดา้ มพร้า ไม่งา่ ขาแยงไม่เข้า” (วิมล ดำ� ศรี, 2539ข, น.
116)

       การแต่งกายของผู้หญิงที่เรียบร้อยสวยงามเพ่ือออกสู่สังคมหรือไปท�ำบุญ นุ่งผ้าถุงหรือโสร่งลาย
ชายผ้าด้านล่างเป็นแถบสีด�ำ ตัดผมไว้สร้อยผมและทัดดอกไม้ที่หาได้ในท้องถ่ิน เช่น ดอกมะแว้ง แขวน
สร้อยคอลูกประค�ำเป็นเครื่องประดับ ดังความในเพลงกล่อมเด็กต่อไปน้ี (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2541, น.
227)

	 	 เช้าเช้าเหอ	                   พาเจ้าไปนั่งหัวเรือ
	 ทักดออ์แว้งเครือ		               นุ่งผ้าลายชายด�ำ
	 ตัดผมไว้สร้อย	 	                 ห้อยคอโลอ์ค�ำ
	 นุ่งผ้าลายชายด�ำ	 	              โลอ์ค�ำพึ่งมาใหม่เหอ
	 (ดออ์แว้งเครือ = ดอกมะแว้ง, โลอ์ค�ำ = ลูกประค�ำ, พึ่ง = เพ่ิง)

       สว่ นการแตง่ กายของขนุ นาง จะใชผ้ า้ ลายทองคำ� หรอื สอดดนิ้ ทองคำ� ดงั ความในเพลงกลอ่ มเดก็ วา่
(วมิ ล ด�ำศร,ี 2539ก, น. 137)

	 	 เมืองคอนเหอ	                   มีผ้าลายทองเป็นพับพับ
	 จัดเป็นส�ำหฺมฺรับ	 	             ประดับทองห่างห่าง
	 จะนุ่งก้าไม่สม	 	                จะห่มก้าไม่เทียมเจ้าเอวบาง
	 ประดับทองห่างห่าง	               ส�ำหฺมฺรับขุนนางนุ่งเหอ
	 (ส�ำหฺมฺรับ = ส�ำรับ, ก้า = ก็)

2. 	การอยู่การกิน

       วถิ กี ารอยกู่ ารกนิ ของชาวบา้ นภาคใต้ หากพเิ คราะหจ์ ากวรรณกรรมมขุ ปาฐะประเภทเพลงกลอ่ มเดก็
และปริศนาค�ำทาย จะแลเห็นได้เด่นชัดว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ซึ่งสะท้อนถึงความเป็นสาระของจริงได้
มากกวา่ วรรณกรรมลายลกั ษณเ์ พราะวรรณกรรมดงั กลา่ วสว่ นมากไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากภาคกลาง สาระของ
วิถกี ารอยกู่ ารกินนนั้ อาจมากับตวั บทวรรณกรรมมากกว่าทจี่ ะสรา้ งขน้ึ เองจากบริบททอ้ งถิ่นภาคใต้

       ตัวอย่างปรศิ นาค�ำทายต่อไปนีส้ ะทอ้ นวิถกี ารอยู่การกินของชาวปักษ์ใตไ้ ด้เปน็ อย่างดี เช่น (วิมล
ดำ� ศร,ี 2539ก, น. 118)

       “แกงปลาไม่ถอยกับผักไม่ลอย ใส่ส้มปากมาก ไอ้ไหร” คำ� เฉลย คอื “แกงปลาพงกบั ผกั กดู ใสส่ ม้
พดู ” ค�ำวา่ “พง” หมายถึงปลากะพง ซง่ึ พ้องกับคำ� ว่า “พง” ในภาษาไทยถิน่ ใต้ท่ีหมายถงึ ไม่ถอย ส่วน
คำ� ว่า “กูด” หมายถึงจมนาํ้ หรือไมล่ อยกไ็ ด้ และคำ� ว่า “ปากมาก” ก็หมายถงึ พดู นัน่ เอง ดงั น้นั จึงเหน็ ได้
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84