Page 82 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 82

10-72 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมทอ้ งถ่ินไทย

		                  	 พุมเรียงเหอ 	 มีเบียงพาดผ้า
		                  มีโหมฺโลอ์ค้า 	                   ต้ังร้านขายของ
		                  ปีน้ีขายผ้า 	                     ปีหน้าขายทอง
		                  ต้ังร้านขายของ 	                  หยูหน้าปาอ์คลองใหญ่เหอ
		                  (เบียง = ระเบียง, โหมฺ = หมู่, โลอ์ค้า = ลูกค้า, หยู = อยู่, ปาอ์ =ปาก)

       การค้าขายโดยทางเรือส�ำเภาซึ่งผู้เป็นเจ้าของมิใช่คนในพื้นท่ี อาจเป็นชาวจีน สินค้าท่ีขาย เช่น
ฟักเขียว และฟักทอง สว่ นผซู้ ้อื ก็คือชาวบ้านทอ้ งถน่ิ ภาคใต้ ดงั เพลงกล่อมเดก็ วา่ (วมิ ล ด�ำศร,ี 2539ข,
น. 195)

       		           	 เรือใหญ่เหอ	 แล่นใบในคลองแลลิบล่ิว
       		           เรือเจ้าส�ำเภากิว	                ร้องขายขี้พร้าน้ําเต้า
       		           ถูกถูกแพงแพง	                     แม่ซ้ือไว้แกงหัวเช้า
       		           ร้องขายขี้พร้าน้ําเต้า	           เรือเจ้าส�ำเภากิวเหอ
       		           (เจา้ สำ� เภากวิ = เจา้ ของเรอื สำ� เภาชอื่ กวิ , ขพ้ี รา้ = ฟกั เขยี ว, นา้ํ เตา้ = ฟกั ทอง,
หัวเช้า = ตอนเช้า)

       นอกจากนี้ยังมีปริศนาค�ำทายท่ีแสดงถึงการประกอบอาชีพอ่ืน เช่น การประมงหรือหาปลาด้วย
การยกยอหรอื ทอดแห และการทอผา้ บทปรศิ นาค�ำทายมดี งั นี้ (วิมล ดำ� ศร,ี 2539ข, น. 189, 193, 195)

       “สี่ตีนยืนยัน ตรันนางธรณี หางยาวรี แยงวานแม่เด็ก” (ตรัน = คํ้ายัน, วาน =ก้น) หมายถึง
คนยกยอ

       “ต้นเท่าล�ำหวาย กระจายเต็มล�ำธาร” หมายถึงคนทอดแห
       “โน่นก็เรา น้ีก็เรา เรือส�ำเภา แล่นกลาง นางทั้งห้า นั่งถ้าเรือเรา” หมายถงึ คนทอหกู

กิจกรรม 10.3.1
       จงศกึ ษาเพลงกลอ่ มเดก็ ตอ่ ไปน้ีแล้วตอบค�ำถาม

	 	 	 ลูกสาวเหอ 	 ลูกชาวปากนัง
	 	 เอวกลมนมต้ัง 	                                    ช่างท�ำเคยแผน
	 	 ท�ำให้กลมกลม 	                                    ขมให้แบนแบน
	 	 ช่างท�ำเคยแผน 	                                   ให้แบนเหมือนเฮินเหรียญเหอ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87