Page 80 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 80

10-70 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ไทย

ว่าปลากะพงซึ่งเป็นปลานํ้าเค็มมีอยู่ท่ัวไปในท้องทะเลภาคใต้ น้ํามาแกงเหลืองซ่ึงชาวปักษ์ใต้เรียกว่า
“แกงส้ม” ใสม่ ะพูดซึง่ ภาษาไทยถิน่ ใต้เรยี ก “ส้มพูด” และใสผ่ กั กูด นับเปน็ แกงปกั ษ์ใต้เลิศรสอยา่ งหน่ึง

       “ผักหน่ึงอยู่ในหนอง ผักสองอยู่ในนา ผักสามอยู่ป่าช้า ทายว่าไหร” คำ� เฉลยคอื ผกั เปด็ ผกั คราด
และผักเสีย้ นผี ผักทั้ง 3 ชนิดนีช้ าวบา้ นปกั ษ์ใตก้ ินเป็นผกั สดจ้มิ นํ้าพริกหรอื ใสแ่ กงเหลอื งกไ็ ด้

       “ไข่หลุด ไข่หลั้ว สาหัวไข่” คำ� เฉลยคือ “ขดุ ไหล คัว่ ไหล ใส่หวั ข่า” (ไหล = ปลาไหล) ปลาไหล
อยทู่ วั่ ไปใตด้ นิ และในนา้ํ ในนาในคลอง ครน้ั หนา้ แลง้ นาํ้ แหง้ ปลาไหลหลบอาศยั ไปอยใู่ ตด้ นิ ชาวบา้ นกจ็ ะ
ขุดมาแกงและคัว่ ใส่ขาอ่อนหันเป็นชิ้นบางๆ หรือขา่ ที่แกแ่ ลว้ นำ� มาโขลกกับพริกแกงกไ็ ด้

       ชาวบ้านปักษ์ใต้สมัยก่อนจะไม่ซ้ือข้าวสารส�ำเร็จรูปแล้วมาหุง แต่จะเป็นหน้าท่ีของหญิงสาวหรือ
ลกู สาวทจี่ ะตอ้ งตำ� ขา้ วเปลอื กเองดว้ ยครกตำ� ขา้ ว เมอ่ื ตำ� จนเปลอื กกะเทาะแลว้ กน็ ำ� มาใสก่ ระดง้ แลว้ ฝดั เอา
เปลอื กขา้ วทง้ิ สว่ นขา้ วเปลอื กเมลด็ ทตี่ ำ� แลว้ เปลอื กไมก่ ะเทาะซงึ่ เรยี กวา่ “กากขา้ ว” นน้ั กจ็ ะคดั เลอื กออก
บริเวณท่ีตำ� ขา้ วจะมบี รรดาไกท่ เ่ี ล้ียงไว้ ซงึ่ มีท้ังไก่ทั่วไปและแมไ่ ก่กบั ลูกไก่ มากนิ ปลายขา้ วหรอื เมล็ดข้าว
ทกี่ ระเด็นออกมา หากหญงิ สาวผใู้ ดไมร่ ะวังก็จะเหยียบลกู ไก่จนลูกไก่ตาย ถอื กันว่าเป็นกริ ิยาทีน่ า่ อับอาย
เปน็ อนั มาก บรรยากาศเชน่ นปี้ รากฏให้เหน็ ในเพลงกลอ่ มเด็กบทต่อไปนี้

	 		            ลูกสาวเหอ	                    ลูกชาวโรงตรวน
	 	 ทางแป้งหน้านวล	                           ดือจุนพุงป่อง
	 	 โก้งโค้งเลือกสาร	                         นมยานถึงด้อง
	 	 ดือจุนพุงป่อง	                            ลูกสาวชาวโรงตรวนเหอ
				                                          (วิมล ด�ำศรี, 2539ข, น. 113)
		 (โรงตรวน = หมู่บ้านโรงตรวน, ดือ = สะดือ, จุน = ปูดโปน, สาร = ข้าวสาร,
ด้อง = กระด้ง)

	 	 	 โลอ์สาวเหอ	 โลอ์ชาวบ้านตก
	 	 เอาข้าวลงใส่ครก	                          เหยียบโลอ์ไก่ตาย
	 	 โลอ์ไก่ทั้งครออ์	                         พ่ึงงออ์ขนลาย
	 	 เหยียบโลอ์ไก่ตาย	                         ความอายไม่มีเหลยเหอ
				                                          (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2541, น. 109)
	 (โลอ์ = ลูก, บ้านตก = หมู่บ้านทางทิศตะวันตก, ครออ์ = ครอก, พึ่ง = เพิ่ง,
งออ์ = งอก, ความอาย = ความละอาย, เหลย = เลย)

       ในงานพธิ กี รรมใหญๆ่ มผี มู้ ารว่ มงานเปน็ จำ� นวนมาก หญงิ สาวทง้ั หลายกจ็ ะมาชว่ ยกนั หงุ หาอาหาร
ท�ำแกงเป็ดแกงไก่ใส่มะเขือ อาหารบางชนิดก็ใส่มะเขือเทศด้วย การปรุงอาหารนั้นช่วยกันท�ำและกินกัน
อย่างสนกุ สนาน ดังความในเพลงกล่อมเดก็ ต่อไปนี้ (วรวรรธน์ ศรยี าภัย, 2541, น. 145)
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85