Page 84 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 84

10-74 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ไทย

       นิพพาน คือ ความสงบเย็น ปราศจากความเรา่ รอ้ นจากกเิ ลสและความเศรา้ หมองท้งั ปวง มนุษย์
ผ้มู ีบุญเท่านัน้ ทจ่ี ะไปสู่นิพพานได้ เพราะผู้นั้นมีจติ ทสี่ งบเยน็ เนื่องจากไม่มคี วามเรา่ ร้อนมาแผว้ พาน ซง่ึ
ความเร่ารอ้ นน้ันก็คือกเิ ลสอันเกิดมาจากความรกั โลภ โกรธ หลง ความอยากได้ใคร่เป็นในส่งิ ทท่ี ำ� ให้จิต
ขุ่นมัว เชน่ อยากราํ่ รวย อยากมีเกียรติ มชี ่อื เสยี ง

       คตคิ วามเชอ่ื เรอ่ื งนพิ พานปรากฏอยา่ งชดั เจนในเพลงกลอ่ มเพลง “พรา้ วนาเกร”์ ซง่ึ สอ่ื ความหมาย
ว่านพิ พานนั้นเปน็ นามธรรมสิ่งเดยี วท่ดี �ำรงอยูด่ ว้ ยความสงบเย็น ไมม่ ีกิเลสใดมาแผ้วพาน ผู้มีบญุ เท่านนั้
ท่ีจะไปถึงนิพพานได้ ดงั เพลงกลอ่ มเดก็ วา่ (วรวรรธน์ ศรียาภยั , 2541, น. 244)

		  	 ครือน้องเหอ	 ครือพร้าวนาเกร์
		  ต้นเดียวโนเน	                        อยู่กลางเลขี้ผึ้ง
		  ฝนตกก้าไม่ต้อง	                      ฟ้าร้องก้าไม่ถึง
		  อยู่กลางเลข้ีผึ้ง	                   ไปถึงแต่ผู้มีบุญเหอ
		  (พร้าวนาเกร์ = มะพร้าวนาฬิเกร์, โนเน = หน่ึงเดียว, เล = ทะเล, ก้า = ก็)

                          ภาพที่ 10.15 สระนาฬิเกร์ที่สวนโมกขพลาราม

ที่มา: 	www.google.co.th/search?q=สระนาฬิเกร์&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved. สืบค้นเม่ือ 22 มีนาคม 2561.
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89