Page 83 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 83

วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคใต้ 10-73
       1. 	สะทอ้ นถงึ วิถชี วี ติ ของคนพนื้ ถิน่ ใดในภาคใต้
       2. 	สะทอ้ นวิถชี วี ิตและความเปน็ อยอู่ ย่างไร
       3. 	คดั เลอื กค�ำภาษาไทยถ่นิ ใต้ 3 คำ� แลว้ อธิบายความหมาย
แนวตอบกิจกรรม 10.3.1
       1. 	พน้ื ถนิ่ ในเพลงกลอ่ มเด็ก คอื อำ� เภอปากพนงั จังหวดั นครศรธี รรมราช
       2. 	การทำ� กะปขิ องชาวภาคใตอ้ ำ� เภอปากพนงั จงั หวดั นครศรธี รรมราชผทู้ ำ� กลมุ่ หนงึ่ คอื หญงิ สาว
ซงึ่ อาจทำ� กนั เปน็ ครอบครวั มวี ธิ ที ำ� โดยปน้ั ใหก้ อ้ นกลมกอ่ น แลว้ จงึ ออกแรงขม่ ใหแ้ บนเปน็ วงกลมคลา้ ยกบั
เหรยี ญสตางค์ การทำ� กะปนิ ส้ี ว่ นหนง่ึ ทำ� ไวก้ นิ เองทบี่ า้ นและหากมเี หลอื กเ็ อาไปขายซง่ึ เปน็ อาชพี อยา่ งหนงึ่
เพราะที่อ�ำเภอปากพนังอยู่ติดกับชายทะเล ชาวบ้านที่เป็นชาวประมงคงได้กุ้งมากจนกินไม่หมดจึงน�ำมา
ทำ� เปน็ กะปิ
       3. 	คำ� ศพั ทภ์ าษาไทยถน่ิ ใต้ 3 คำ� จากเพลงกลอ่ มเดก็ คอื 1) “ปากนงั ” หมายถงึ อำ� เภอปากพนงั
จังหวัดนครศรธี รรมราช 2) “เคย” หมายถึง กะปิ 3) “เฮนิ ” หมายถึง เงิน

เรื่องที่ 10.3.2
ศาสนาและความเชื่อ

       สงั คมภาคใตข้ องไทย แตเ่ ดมิ ผคู้ นคงมคี วามเชอื่ และนบั ถอื ผมี ากอ่ น ตอ่ มาไดร้ บั อทิ ธพิ ลทางศาสนา
จากอินเดีย โดยศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเข้ามาเป็นอันดับแรก ต่อมาศาสนาพุทธจึงเผยแผ่เข้ามาสมทบ
อิทธิพลของผี พราหมณ์และพุทธได้แทรกซึมเข้าไปอยู่ในวิถีชีวิตและจิตวิญญาณของผู้คน ก่อเกิดเป็น
คติความเช่ือที่ผสมผสานผ่านกาลเวลามาเนิ่นนาน เมื่อมีการสร้างวรรณกรรมท้ังมุขปาฐะและลายลักษณ์
คตคิ วามเชอื่ และศาสนาดงั กลา่ วจงึ ถกู นำ� เสนอผา่ นตวั บทของวรรณกรรม ซงึ่ อาจจำ� แนกได้ 2 ประการ คอื
พุทธคติ และโบราณคติ มีรายละเอยี ดดงั น้ี

1. 	พุทธคติ

       สมยั โบราณ ดนิ แดนทางภาคใตเ้ ปน็ แหลง่ รบั อารยธรรมทางพทุ ธศาสนาจากอนิ เดยี โดยตรง ดว้ ย
เหตุนี้คติความเช่ืออันเนื่องจากพุทธศาสนาจึงฝังรากลึกอยู่ในวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวปักษ์ใต้ ดังจะ
เหน็ ได้จากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น พระบรมธาตนุ ครศรีธรรมราช และพระบรมธาตุไชยา นอกจากนี้
ประเพณแี ละพธิ กี รรมตา่ งๆ เชน่ สารทเดอื นสบิ หรอื ชกั พระ ลว้ นแสดงถงึ พทุ ธคตทิ ง้ั สนิ้ พทุ ธคตทิ ปี่ รากฏ
อยา่ งเดน่ ชัดในวรรณกรรมภาคใต้ เช่น ความเชือ่ เรื่องนพิ พาน ผลบญุ กฎแห่งกรรม และชาติภพ
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88