Page 81 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 81

วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ ภาคใต้ 10-71

       		     	 ไปเหนือเหอ	 ไปซ้ือลูกเขือใหญ่
       		     ฆ่าเป็ดฆ่าไก่	   ท�ำงานอีเกด
       		     สาวสาวน้อยน้อย	  นั่งต่อยเขือเทศ
       		     ท�ำงานอีเกด	     ให้หนุกสักวันเดียวเหอ
       		     (เหนือ = ทิศเหนือ, ลูกเขือ =มะเขือ, ต่อย = ทุบ หั่น, เขือเทศ = มะเขือเทศ,
หนุก = สนุก)

3. 	การประกอบอาชีพ

       ชาวไทยปักษ์ใต้ประกอบอาชีพหลากหลาย ในวรรณกรรมมุขปาฐะประเภทเพลงกล่อมเด็กและ
ปรศิ นาคำ� ทายจะเหน็ ไดช้ ดั เจนวา่ สว่ นใหญป่ ระกอบอาชพี ทำ� นา ซง่ึ จะเรมิ่ ทำ� ในชว่ งเรมิ่ ฤดฝู นหรอื เดอื นหก
และการทำ� นานน้ั กช็ ว่ ยกนั ทำ� มใิ ชท่ ำ� แบบตา่ งคนตา่ งทำ� ดงั ปรากฏเพลงกลอ่ มเดก็ ตอ่ ไปนี้ (ประทปี ชมุ พล,
2558, น. 18)

	 	 	 ฝนตกเหอ	                 คางคกไถ่นา
	 	 อีเขียดถอนกล้า	            ปูนาแล่นด�ำ
	 	 หอยข้าวหอยโข่ง	            โก้งโค้งยังค�่ำ
	 	 ปูนาแล่นด�ำ	               ค่ําส่งนมลูกเหอ

       การที่เพลงกล่อมเด็กข้างต้นกล่าวว่า คางคกไถนา เขียดถอนกล้า ปูนา หอยข้าวและหอยโข่ง
ปักด�ำเพียงเพื่อให้ผู้ฟังหรือผู้อ่านให้เกิดภาพพจน์ท่ีเรียกว่าบุคลาธิษฐาน แท้จริงแล้วพฤติกรรมของสัตว์
ดงั กลา่ วหมายถึงพฤติกรรมของคนท้ังส้ิน

       อาชีพท่ีคู่กับอาชีพท�ำนาคือท�ำสวนโดยเฉพาะสวนยางพารา ชาวปักษ์ใต้ประกอบอาชีพน้ีท่ัวไป
ทั้งภาคต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังปรากฏในปริศนาค�ำทายว่า “โก้งโค้งโมงตึง มือหน่ึงลอก พอนํ้าออก
หรอยจัง หันหลังให้” (โมง = ก้น, หรอยจงั = อร่อยมาก) หมายถงึ ชาวสวนยางกรีดยาง (วิมล ดำ� ศรี,
2539ข, น. 185)

       การคา้ ขายเปน็ อกี อาชพี หนงึ่ ทช่ี าวปกั ษใ์ ตป้ ระกอบมาชา้ นาน ดงั เชน่ ทต่ี �ำบลพมุ เรยี ง อำ� เภอไชยา
จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นแหล่งขายผ้าท่ีมีชื่อเสียงมาตราบจนทุกวันนี้ ในอดีตพ่อค้าแม่ค้าสร้างระเบียงข้ึน
มาเพอื่ พาดผ้าไวข้ าย สว่ นส่งิ ของอื่นๆ กส็ ร้างร้านคา้ ขึ้นมาเพอ่ื ขายโดยสลบั กันแบบปเี ว้น กล่าวคอื หากปี
ปัจจุบันนี้ขายผ้า ปีถัดไปก็จะขายทอง ร้านค้าดังกล่าวต้ังอยู่บริเวณปากคลองใหญ่ซ่ึงก็คือคลองพุมเรียง
นน่ั เอง ดงั เพลงกลอ่ มเดก็ ว่า (วรวรรธน์ ศรยี าภัย, 2541, น. 75)
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86