Page 69 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 69

วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ 10-59

เรื่องที่ 10.2.2
วรรณกรรมลายลักษณ์เรื่องส�ำคัญ

       วรรณกรรมลายลกั ษณท์ อ้ งถนิ่ ภาคใตใ้ นยคุ แรกเปน็ จารกึ ซงึ่ จารลงบนแผน่ ทองคำ� ตอ่ มาบนั ทกึ ลง
ในกระดาษท่ีเรียกว่า “หนังสือบุด” หรือสมุดไทย จนกระท่ังปัจจุบันบันทึกลงในกระดาษจากโรงพิมพ์
วรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ประเภทลายลักษณ์น้ีมีการบันทึกไว้ตั้งแต่เริ่มสร้างวรรณกรรม มีมากมาย
หลากหลายจนไม่อาจนับจ�ำนวนเรื่องและส�ำนวนได้ ล้วนแต่ใช้ภาษาไทยถ่ินใต้เป็นวัสดุในการสร้างสรรค์
ทง้ั สิ้น

       ตอ่ ไปนจ้ี ะนำ� เสนอวรรณกรรมลายลกั ษณเ์ รอื่ งสำ� คญั ของภาคใตเ้ พอื่ เปน็ กรณศี กึ ษาในเรอื่ งทก่ี ลา่ ว
นแ้ี ละเป็นแนวทางสำ� หรับศึกษาเรือ่ งอน่ื ๆ ด้วย โดยมีประเด็นเร่ืองสำ� คญั 5 ประเดน็ คือ จารึกแผน่ ทองท่ี
ปลียอดพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช นิราศชื่น (นิราศเรือนจ�ำ) สรรพลี้หวน ลิลิตโสฬศนิมิต และ
วรรณกรรมรว่ มสมยั ใหม่ กล่าวรายละเอยี ดตามล�ำดบั ดังนี้

1. 	จารึกแผ่นทองที่ปลียอดพระมหาธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช

       เมอื งนครศรธี รรมราชมศี าสนสถานสำ� คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ คอื พระบรมธาตนุ ครศรธี รรมราช ทพ่ี ระบรม
ธาตุน้มี วี รรณกรรมลาํ้ คา่ คือ จารึกแผน่ ทองคำ� ที่หุ้มปลียอดพระบรมธาตุ 1 ชดุ จำ� นวนมากกวา่ 50 แผน่
แตล่ ะแผน่ มขี อ้ ความจารกึ ไวเ้ พอ่ื แสดงความปรารถนาขอใหอ้ านสิ งสท์ ไี่ ดบ้ รจิ าคทรพั ยส์ งิ่ ของถวายเปน็ พทุ ธ
บูชา (ก่องแก้ว วีระประจกั ษ์ และสุธวิ งศ์ พงศไ์ พบูลย,์ 2548, น. 3)

       ผู้สร้างจารึกนี้จะบอกรายนามไว้ในจารึกเกือบทุกแผ่น เช่น จารึกล�ำดับที่ จ.48 ผู้สร้างคือ พระ
มหาศรรี าชปรชี าและญาตซิ งึ่ สรา้ งขน้ึ ใน พ.ศ. 2155 ตรงกบั แผน่ ดนิ สมเดจ็ พระเอกาทศรถ และจารกึ ลำ� ดบั
ที่ จ.38 ผ้สู รา้ งคอื พระมหาธรรมราช วดั หนา้ พระลานและพระคงทอง วดั อรัญญกิ กับญาติและมหานราย
ซึ่งอาจสร้างขน้ึ ใน พ.ศ. 2217 ตรงกับแผน่ ดินสมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช

       1.1 	ลักษณะการประพันธ์ ร้อยแก้วแบบบรรยายโวหาร บันทึกเป็นภาษาไทยแต่ใช้ตัวอักษรท้ัง
อักษรขอมไทยและอกั ษรไทย บางแผ่นใช้อกั ษรขอมไทยทงั้ หมด เชน่ จารึกลำ� ดบั ที่ 48 และ 51 บางแผน่
ใช้อักษรไทยท้ังหมด เช่น จารึกล�ำดับที่ 18 และ 45 และบางแผ่นใช้อักษรขอมไทยกับอักษรไทยปนกัน
เชน่ จารึกลำ� ดบั ท่ี 49 และ 46

       1.2 	สาระส�ำคัญและตัวอย่างตัวบทเด่น เนื้อหาส�ำคัญของจารึกคือบอกรายนามผู้ที่เอาทองค�ำ
มาสร้างปลียอดพระบรมธาตเุ จดยี ร์ วมทง้ั ทรพั ย์ท่ีเอามาบรจิ าค บอกวนั เดือนปี และตอนท้ายมักอธิษฐาน
ให้ไดผ้ ลบญุ ไดพ้ บพระศรอี ารยิ ์ บ้างก็ใหไ้ ปถงึ นิพพาน

       ตัวอย่างข้อความเด่น เช่น จารึกล�ำดับท่ี 48 พ.ศ. 2155 มีดังน้ี (ก่องแก้ว วีระประจักษ์ และ
สธุ ิวงศ์ พงศไ์ พบลู ย,์ 2548, น. 3)
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74