Page 63 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 63

วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคใต้ 10-53

	 ต้ังแต่ท่านมาอุปสมบท	                       จนได้หลองยศเป็นพระครู
	 นี่เติมว่ากับแมงนานแรงแล้วน้อง	             ถึงให้แมงว่าลองกะไม่ก้องหู
แมง: 	 ว่าน�ำความจะตกช่วยยกชู	                ว่าเห็นดูโนราท่ีมาร�ำ
เติม: 	 ถ้ามาถามนักปราชญ์ฉลาดแน่	             ถ้าคนแลคนชมว่าคมข�ำ
แมง: 	 ให้ฉานโต้สักหนท่านคนฟัง	               ว่าคณะเติมร�ำใครจะข�ำกว่า
	 ออกถิ่นฐานบ้านน่ีอารีกับน้อง	               พี่น้องได้โสมมนัสา
	 เขาให้สรวลให้เสพูดกันเฮฮา	                  ท่านมาดูโนรากันบายบาย
	 ออถิ่นฐานบ้านช่องพี่น้องหาดใหญ่	            แกหามีส่ิงไหรมาฝากไม่
	 มาฝากลุงฝากป้าฝากย่าฝากยาย	                 ไม่ไหรจะได้ไว้ตอบแทน
	 พรานแมง (ไม่ยอมให้โนราเติมร้องต่อ เร่ิมร้องกลอนเร็วขึ้นเร่ือยๆ จนจบ)
(ค�ำศัพท์: หลอง = ฉลอง, เห็นดู = เอ็นดู, ฉาน = ฉัน, บายบาย = สบายๆ, ออ = ค�ำสร้อย
กลอน, ไหร = อะไร)

จากนัน้ โนราเติมกับพรานแมงสนทนาเปน็ ร้อยแก้วว่า (วราภรณ์ นุ่นแก้ว, 2548, น. 311-312)

	 เติม: 	 ร้อง ๆ เป็นกลอน เป็นพูดไปเลย พูดเป็นกลอนเลย
	 แมง: 	 ว่าเพ้อไปนิ
	 เติม: 	 แล้วท�ำไมพูดเป็นกลอนอย่างน้ัน
	 แมง: 	 ว่ากลอนไปมั่ง พูดไปมั่ง แหลงไปม่ัง
	 (ค�ำศัพท์: เพ้อไป = ไปเรื่อยๆ, นิ = นะ, แหลง = พูด)

ตอ่ จากนน้ั โนราเติมก็ขับกลอนโนราเป็นบทบรรยายความว่า (วราภรณ์ นนุ่ แกว้ , 2548, น. 312)

	 คร้ันดึกล่วงกลัวว่าจะง่วงกันแล้วน้อง 	ฉันจะร้องเสียให้ฟังนั่งอย่าโฉ
ถ้าไม่ดีก็อย่าด่าโนราโซ	 	                    ถ้าไม่ดีก็อย่าโทษโกรธว่าแก่
ถึงรูปชั่วถึงตัวเติมไม่ข�ำ	 	                 คร้ันการเล่นการร�ำไม่ท�ำแส
คนรู้สึกให้นึกกันลองแล	 	                     ไม่ใช่แก่มะพร้าวเฒ่ามะละกอ
ผมชอบกลอนนักสอนสุนทรศัพท์	                    มาประดับเรียกใช่ไม่แหละหลอ
ถ้าเตมิ เลน่ สวยสวยชว่ ยกันยอ	                เลน่ เรอื่ งตอ่ ตามประยกุ ตใ์ หม้ นั หนกุ สกั ทอ่ นคนื
(ค�ำศัพท์: อย่าโฉ = อย่าส่งเสียงดัง, โซ = ไม่ดี เลว, ท�ำแส = เสแสร้ง, แหละหลอ, เหลาะแหละ
แหลง = พูด, หนุก = สนุก, ท่อนคืน = คร่ึงคืน)
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68