Page 56 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 56

10-46 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิน่ ไทย
       2.2 	ตัวอย่างเร่ืองเล่าท่ีส�ำคัญ นิทานและต�ำนานในท้องถิ่นภาคใต้มีหลากหลายทุกพ้ืนท่ีหรือทุก

พื้นถ่ิน บางเรอื่ งเปน็ เรอ่ื งเดยี วกนั แตต่ า่ งสำ� นวนกนั เพราะผเู้ ลา่ เปน็ คนละคน และบางเรอื่ งกแ็ ตกตา่ งกนั เปน็
คนละเรอื่ ง

       ตวั อยา่ งนทิ านทป่ี รากฏแพรห่ ลายทว่ั ไป เชน่ นทิ านพนื้ บา้ นอำ� เภอบา้ นนาสาร จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
เรื่อง “เสอื ” ดังน้ี (เกษมศักด์ิ อภนิ นั ทชาติ และคนอ่ืนๆ, 2527, น. 126)

         “เสือขึ้นไปหาพระอิศวร ว่าหมันต้ีได้โลกมากไหรพันน้ี ให้เกิดโลกมาก แล้วคันน้ีไปแหละ
  ไป ไปหาพระอิศวร ว่าตี้เอาครอกหนึ่งเท่าไหร หมันว่าขอครอกหน่ึงสิบตัว พระอิศวรว่าสิบตัวนั้น
  มากนัก เอาเพียงเจ็ดตัวและกะปีเจ็ดครอก ครอกหนึ่งเจ็ดตัว กะพร้าอิศวรว่าพันน้ัน แล้วกะให้ท่อง
  ให้เดินท่อง แล้วให้จ�ำได้ ท่องมาแหละนะ ปีเจ็ดครอก ครอกเจ็ดตัว ปีเจ็ดครอก ครอกเจ็ดตัว มา
  มา เดินตามทาง นกคุ่มบินพรู ตกใจ เจ็ดปีต่อครอก ครอกตัว ครอกตัว จนเท่าบัดนี้”

         (ค�ำศัพท์: หมัน = มนั , ตี้ = จะ, โลก = ลกู , ไหร = อะไร, พันนี้ = เชน่ น้ี, คนั นี้ = คราน้,ี
  และกะ = แล้วก็, กะ = ก)็

       ตัวอย่างตำ� นาน เช่น “นางเลือดขาว” ซึง่ เลา่ แพรห่ ลายในพนื้ ถิน่ นครศรีธรรมราช พทั ลุง สงขลา
และตรัง ดงั นี้ (ชยั วฒุ ิ พิยะกูล, 2542, น. 3702-3704)

         ณ ประเทศอินเดีย พระพุทธศาสนาล่วงแล้ว 273 ปี เมื่อพระเจ้าพินทุสารเสด็จสวรรคต
  อโศกกุมารครองราชย์สมบัติสืบต่อมา ได้ปราบปรามแคว้นต่างๆ ไว้ในอ�ำนาจ ในสงครามแคว้น
  กลงิ คราษฎร์ ผคู้ นลม้ ตายจำ� นวนมาก ผไู้ ดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นพากนั ลงเรอื อพยพออกนอกอาณาจกั ร
  ผ่านทะเลอันดามัน แล้วแยกย้ายข้ึนฝั่งตะวันตกในภาคใต้ของประเทศไทย มีชาวอินเดียบางส่วน
  ขึ้นฝั่งท่ี “ท่าประตูทะเล” หรือ “ท่าประตูเล” อ�ำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง แล้วเดินข้ามช่องเขา
  บรรทัดผ่านเมืองตระแล้วแยกย้ายออกเป็น 2 สาย สายท่ี 1 ไปทางทิศใต้จนถึงเขาปัจจันตระหรือ
  เขาจันทร์ แล้วล่องเรือลงตามลุ่มนํ้าฝาละมีมาอยู่ที่ “หน้าท่าทิดครู” หรือบ้านท่าทิดครู ต�ำบล
  หารเทา อ�ำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สายที่ 2 เลียบเชิงเขาไปถึงบ้านโหมดแล้วพ�ำนักอยู่ที่นั่น
  ซึ่งเรียกว่า “ที่โมชฬะ” ต่อมากลายเป็นตะโหมดหรืออ�ำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

         ครง้ั นน้ั มตี าสามโมกบั ยายเพชร ตายายสองคนผวั เมยี อาศยั อยทู่ บ่ี า้ นพระเกดิ ตำ� บลฝาละมี
  อ�ำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง มีหน้าที่จับช้างมาฝึกหัดส่งให้เจ้าพระยากรุงทอง เจ้าเมืองสทิง
  พาราณสีมีอาณาเขตถึงบ้านท่ามะเด่ือ ต�ำบลท่ามะเด่ือ อ�ำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ตายายไปจับ
  ช้างจนถึงถ่ินปราโมทย์ได้รู้จักสนิทสนมกับชาวอินเดียจนชาวอินเดียยกบุตรีคนหนึ่งให้เป็นลูก
  บุญธรรม ตั้งชื่อว่า “นางเลือดขาว” เพราะมีผิวขาวกว่าชาวพ้ืนเมือง ต่อมาตายายคิดหาคู่ให้นาง
  เลือดขาว จึงขอบุตรชาวอินเดียเป็นบุตรบุญธรรมอีกคน ให้ชื่อว่า “กุมาร” หรือ “เจ้าหน่อ”

         วันหน่ึงช้างพังของตายายหายไป ตายายจึงออกตามหาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ
  บ้านพระเกิดจนถึงคลองบางแก้วและพบช้างนอนทับขุมสมบัติไว้ ตายายคิดว่าจะย้ายมาอาศัยท่ี
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61