Page 54 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 54

10-44 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมท้องถ่นิ ไทย

กลุ่มร้อยกรอง เชน่ (วมิ ล ดำ� ศร,ี 2539, น. 114, 121, 122)

	 	 1. จตุบาทยาตรเต้า	                  ตัวสาน
	 งวงง่าเงือดทะยาน	                     โยกเยื้อง
	 ฟันแฝงฝากดินดาน	                      ดูแปลก ตาแฮ
	 เสพโภชน์กัดปลดเปล้ือง	                ส่งข้าวปล่อยสาร

         ค�ำตอบ คอื ครกสีขา้ ว

	 	 2. วัดประเดิมแก้วข้า	 มีสระสี่มุม
	 มีทองอยู่ส่ีตุ่ม	 	                   อยู่ที่มุมวัด
	 พ่ีก็ไม่ข้อง	 	                       น้องก็มิขัด
	 ใครรู้จักบาตรวัด	 	                   ให้คัดงัดเอา
คำ� ตอบ คือ (ไม่มีคำ� ตอบ)

	 	 3. โคกข้ึนกาบินหนี	                 แหวกม่านธรณี
	 หนีสงสาร	 	                           นิพพานไม่กลับ
คำ� ตอบ คอื โคกกระสนุ แห้วหมู ขม้นิ อ้อย ผักเสย้ี นผี

       1.3 	คุณค่าของปริศนาค�ำทาย อาจกลา่ วในภาพรวมไดว้ า่ ปรศิ นาค�ำทายมคี ณุ คา่ 3 ดา้ น คอื ดา้ น
อารมณ์ สงั คม และภมู ปิ ญั ญา

       ด้านอารมณ์ที่เห็นได้ชัดคือช่วยประเทืองอารมณ์เชิงสร้างสรรค์ เพราะปริศนาค�ำทายบางบทมี
ลักษณะการสื่อความสองแง่สองมุม เช่น “ไหรเอ้ยกลมๆ เท่าด้ามพร้า ไม่ง่าขาแยงไม่เข้า” หรือบางบท
เป็นค�ำผวน เช่น “สองหน�ำ สามหน�ำ รวมเป็นหน�ำเดียว” ผู้คิดหาค�ำตอบจะรู้สึกข�ำขันผ่อนคลายความ
ตึงเครยี ด

       ในด้านสังคมจะชี้ให้เห็นชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในสังคม เช่น “รถจากปากนังมานครสีไหร”
แสดงว่าเมืองนครศรีธรรมราชมีการเดินทางด้วยรถยนต์ หรือ “วัดประเดิมแก้วข้า มีสระส่ีมุม มีทองอยู่
ส่ีตุ่ม อยู่ที่มุมวัด พี่ก็ไม่ข้อง น้องก็มิขัด ใครรู้จักบาตรวัด ให้คัดงัดเอา” แสดงว่าสังคมนั้นผู้คนนับถือ
พุทธศาสนา

       สว่ นดา้ นภมู ปิ ญั ญานนั้ การหาค�ำตอบของปรศิ นาคำ� ทายทกุ บททำ� ใหค้ นคดิ งอกงามทางสตปิ ญั ญา
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59