Page 55 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 55

วรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคใต้ 10-45

                       ภาพที่ 10.9 รถโดยสารจากปากพนัง-นครศรีธรรมราช

ที่มา:	 www.google.co.th/search?biw=1600&bih=794&tbm สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2561.

2. เรื่องเล่า

       เร่อื งราวที่เลา่ สืบต่อกันมาโดยมีตัวละครเป็นผู้ดำ� เนินเหตกุ ารณใ์ นเรื่อง ส่วนใหญแ่ ล้วผู้เล่าจะเล่า
เหตุการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ เป็นอนั ดบั แรกก่อน แลว้ เล่าเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ้ ทีหลงั ในล�ำดบั ตอ่ ไป อาจเรียกเรอ่ื งเลา่
ในทน่ี ้วี า่ นทิ านและตำ� นานกไ็ ด้

       ประเด็นส�ำคัญท่ีจะกล่าวถึงเกี่ยวกับเรื่องเล่าในฐานะเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะท่ีส�ำคัญของท้องถ่ิน
ภาคใต้ มี 3 ประเดน็ คือ ประเภทของเรื่องเล่า ตวั อย่างเรือ่ งเลา่ ทีส่ ำ� คญั และคณุ ค่าของเรื่องเล่า กล่าว
ดังน้ี

       2.1 	ประเภทของเร่ืองเล่า หากน�ำลักษณะของเน้ือหาซ่ึงมีความเก่ียวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับ
สิ่งศักด์ิสิทธิ์ในเร่ืองเล่า มาเป็นเกณฑ์จัดแบ่งประเภทเรื่องเล่าส�ำคัญของท้องถ่ินภาคใต้ จ�ำแนกได้ 2
ประเภท คือ ต�ำนาน และนิทาน กลา่ วคอื

            2.1.1 	ต�ำนาน เป็นเรื่องท่ีเล่าสืบต่อกันมาแต่เดิม มีตัวละครด�ำเนินเหตุการณ์ ไม่อาจสรุป
ได้ว่าเร่ืองท่ีกล่าวเกิดข้ึนจริงหรือไม่ แต่โดยทั่วไปมักจะเช่ือกันว่าเป็นเรื่องจริงท่ีมีความเกี่ยวข้องกับสิ่ง
ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ และคนเคารพบชู า เชน่ ตำ� นานพระธาตนุ ครศรธี รรมราช ตำ� นานพระอรยิ สงฆ์ และตำ� นานบคุ คล
สำ� คัญ

            2.1.2		นิทาน ลักษณะของนิทานจะคล้ายกับต�ำนาน แต่โดยท่ัวไปจะเข้าใจว่าเป็นเร่ืองที่
มนุษย์แต่งข้ึนและเป็นเร่ืองทั่วไปท่ีไม่เก่ียวข้องกับส่ิงศักดิ์สิทธิ์ซ่ึงคนเคารพบูชา หากเก่ียวข้องกับส่ิงท่ีคน
เคารพบชู ากจ็ ะเปน็ เรอื่ งอทิ ธฤิ ทธปิ์ าฏหิ ารยิ เ์ หนอื ธรรมชาตขิ องสงิ่ นน้ั เชน่ นทิ านตามอ่ งลา่ ย นทิ านเกย่ี วกบั
สตั ว์ อาทิ ทำ� ไม่เสือมลี าย ท�ำไมก้งุ จงึ มีขีอ้ ยูบ่ นหวั ทำ� ไมนกกะปดู ตาแดง และทำ� ไมนกเขากบั นกกวกั ขนั
และร้องเชน่ น้ัน
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60