Page 48 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 48

10-38 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

            ตวั อยา่ งเชน่ บทเทศนาโวหารในวรรณกรรมเรอ่ื ง “พระปรมตั ถค์ ำ� กาพย”์ ทม่ี งุ่ สงั่ สอนขนุ นาง
ทงั้ หลายวา่ ยศศกั ดท์ิ ม่ี อี ยู่ เมอ่ื ตวั ตายแลว้ ยศศกั ดนิ์ นั้ จะสญู ไปหมดสนิ้ อยา่ ไดเ้ มามวั หลงรกั ผทู้ มี่ ใิ ชค่ คู่ รอง
ของตน ทงั้ อยา่ ไดใ้ ชเ้ งนิ ทองจา้ งหมอทำ� สเนห่ ด์ ว้ ย ดงั บทวรรณกรรมวา่ (สธุ วิ งศ์ พงศไ์ พบลู ย,์ 2548ก, น. 356)

	 ชาวเจ้าทั้งปวง	                       	 ผู้เป็นพระหลวง	 	 ขุนนางน้อยใหญ่
เป็นขุนเป็นหม่ืน	                       ยศศักด์ิเท่าใด	 อย่าได้สงสัย	           จะตายสูญเปล่า
	 อย่าได้มัวเมา	                        	 รักลูกรักผัว	 	 มิใช่คู่เรา
เงินทองมากน้อย	                         ขนให้แก่เขา	  ให้มดหมอเอา	              คิดว่าจะเบาตัว

       2.3 ภาพพจน์ เปน็ ขอ้ ความทส่ี รา้ งสรรคข์ นึ้ มาโดยมจี ดุ มงุ่ หมายใหผ้ รู้ บั สารเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจ
ในสง่ิ ทก่ี ลา่ วอยา่ งแจม่ แจง้ กอ่ เกดิ เปน็ ภาพในจติ ไมว่ า่ ผสู้ ง่ สารจะสอื่ ความโดยตรงหรอื โดยนยั กต็ าม ผรู้ บั สาร
ก็สามารถรับรู้ความหมายได้ทุกแง่ทุกมุม ภาพพจน์เด่นที่ควรศึกษาให้เข้าใจอย่างแจ่มแจ้งมี 5 ประเภท
คอื อุปมา อปุ ลักษณ์ อตพิ จน์ สัทพจน์ และสญั ลกั ษณ์ ดังนี้

            2.3.1	 อุปมา เป็นการกล่าวเปรียบเทียบสิ่งหน่ึงให้เหมือน คล้าย หรือต่างกับอีกสิ่งหน่ึง
สง่ิ ทเ่ี ปรยี บมคี ณุ สมบตั บิ างประการเหมอื น ใกลเ้ คยี ง หรอื ตา่ งกนั โดยมคี �ำเชอ่ื มระหวา่ ง 2 สงิ่ เชน่ เหมอื น
เชน่ ประดจุ ด่งั ราว ตา่ งจาก ตา่ งกับ ตัวอย่างภาพพจนอ์ ุปมาในวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาคใต้ เชน่ ปรศิ นา
ค�ำทายตอ่ ไปน้ี (วิมล ดำ� ศรี, 2539, น. 101 และ 118)

                - “ไหม้หู ไหม้ตา หน้าเหมือนลีง” ค�ำวา่ “ไหม”้ หมายถงึ ไมม่ ี สว่ น “ลีง” หมายถงึ
ลิง คำ� เฉลยของปรศิ นาคำ� ทายนี้ คอื “กะลามะพร้าว” มีการใชภ้ าพพจน์อปุ มาคอื นำ� “หน้า” มาเปรียบ
เทียบกบั “ลงี ” เพราะกะลามะพรา้ วด้านบนมรี ูปลกั ษณ์คลา้ ยหน้าลิงนั่นเอง

                - “หน้าแล้งเข้าถ้ํา หน้านํ้าเที่ยวจร ไว้มวยเหมือนมอญ นามว่าไหร” คำ� ว่า “หน้า”
หมายถึงฤดูกาล สว่ น “มวย” หมายถงึ มวยผม ค�ำเฉลยของปรศิ นาคำ� ทายน้คี อื “หอยโขง่ ” ใช้ภาพพจน์
อปุ มาคอื น�ำ “มวย” เปรยี บกับ “มอญ” โดย “มวย” หมายถงึ เปลอื กกน้ ของหอยโขงมรี ปู ลกั ษณเ์ หมือน
มวยผมชาวมอญ

            2.3.2 	อุปลักษณ์ คือการเปรียบเทียบของ 2 สิง่ วา่ มีคณุ สมบตั เิ ช่นเดยี วกัน อาจใชค้ ำ� เชื่อม
เป็น คอื เทา่ เทา่ กับ มาเช่ือมระหว่างของ 2 ส่งิ ตัวอย่างภาพพจน์อปุ ลักษณ์ในวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ภาค
ใต้ เช่น เรื่อง “จันทคาดค�ำกาพย์” ตอนที่จันทคาดได้รักษาพระธิดาของท้าวพรหมจักรวรรดิ มีการใช้
ภาพพจนอ์ ปุ ลกั ษณโ์ ดยเปรยี บ “จนั ทคาด” เปน็ “หมออนั วเิ ศษ” ดงั บทประพนั ธว์ า่ (ประพนธ์ เรอื งณรงค,์
2548ก, น. 53)

	 	 อาณาประชาราษฎร	                                   ลือขจรทุกเขตขัณฑ์
	 ว่าจันทคาดนั้น	 	                                   มารักษาพระธิดา
	 	 เป็นหมออันวิเศษ	                                  ดังเทเวศในช้ันฟ้า
	 มนุษย์ในใต้หล้า	 	                                  ใครมิได้มาเปรียบเทียบทัน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53