Page 41 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 41

วรรณกรรมท้องถนิ่ ภาคใต้ 10-31

1. 	สุนทรียภาพในลีลาของถ้อยค�ำ

       กลวธิ กี ารใชถ้ อ้ ยคำ� ใหเ้ กดิ สนุ ทรยี ภาพในวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคใตน้ บั เปน็ เครอื่ งมอื ทางวรรณศลิ ป์
อยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ผสู้ รา้ งสรรคว์ รรณกรรมใชเ้ พอ่ื ทำ� ใหต้ วั บทวรรณกรรมนน้ั มคี วามไพเราะงดงาม นอกจากแสดง
ถึงความสามารถเชิงการประพันธ์ของผู้สร้างแล้ว ยังท�ำให้บทวรรณกรรมให้ความรู้สึกส่ันไหวทางอารมณ์
ของผู้อ่านหรอื ผู้ฟังด้วย

       สนุ ทรียภาพในลีลาของถ้อยค�ำในวรรณกรรมท้องถิน่ ภาคใต้ทโี่ ดดเดน่ มี 2 ประการ คือ การเลน่
เสยี งในคำ� และการเลน่ ค�ำ ดงั น้ี

       1.1 	การเล่นเสียงในค�ำ ค�ำในภาษาไทยถ่นิ ใต้ประกอบด้วยเสยี งสำ� คญั ในคำ� 3 ลักษณะเสยี ง คือ
เสยี งพยญั ชนะ เสยี งสระ และเสยี งวรรณยกุ ต์ ผสู้ รา้ งวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตน้ ำ� เสยี งดงั กลา่ ว 2 ลกั ษณะ
คอื เสยี งพยญั ชนะและเสยี งสระมาออกแบบเปน็ กลวธิ ที ำ� ใหเ้ กดิ สนุ ทรยี ภาพในวรรณกรรม 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่
เสียงสัมผัสของค�ำ และน้าํ เสยี งของค�ำ กล่าวดังนี้

            1.1.1 เสียงสัมผัสของค�ำ เป็นการน�ำเสียงสระและพยัญชนะมาสร้างเป็นกลวิธีท�ำให้เกิด
สุนทรียภาพในค�ำ หากกลวิธีนั้นเกิดจากเสียงสระก็จะได้ค�ำชุดท่ีเรียกว่า “ค�ำสัมผัสสระ” แต่ถ้าเกิดจาก
เสียงพยัญชนะ จะไดค้ �ำชดุ ทเี่ รยี กว่า “ค�ำสมั ผัสอักษร”

                ค�ำสัมผัสสระ คือ ค�ำ 2 ค�ำทป่ี ระกอบข้นึ ด้วยเสียงสระเดยี วกนั ถา้ มเี สยี งพยญั ชนะ
สะกดตอ้ งเปน็ เสยี งเดยี วกนั ดว้ ย เสยี งทตี่ า่ งออกไปคอื เสยี งพยญั ชนะตน้ ตวั อยา่ งคำ� สมั ผสั สระ เชน่ บา้ น-
ร้าน, มา-หา, รีบ-บีบ ค�ำสัมผัสดังกล่าวนอกจากเป็นสัมผัสบังคับทางฉันทลักษณ์ซึ่งต้องปฏิบัติตามข้อ
ก�ำหนดน้ัน จึงจะถือว่าบทวรรณกรรมท่ีสร้างข้ึนมีสุนทรียภาพถูกต้องตามขนบการประพันธ์แล้ว ยังเป็น
สัมผสั ทีม่ ิได้เปน็ ลักษณะบังคบั ทางฉันทลกั ษณ์ แตถ่ า้ ผแู้ ต่งใดจัดสรรใหม้ ีคำ� สมั ผัสทีว่ า่ น้ีผ้นู ้นั จะได้รบั การ
ยกยอ่ งว่ามชี ้นั เชงิ ทางการประพันธ์

                ค�ำสัมผัสอักษร คอื คำ� 2 คำ� ทม่ี เี สยี งพยญั ชนะตน้ เปน็ เสยี งเดยี วกนั แตเ่ สยี งสระและ
เสียงพยัญชนะสะกดเป็นเสยี งทีแ่ ตกตา่ งกัน เชน่ มา-มี, รา้ ย-เรา้ , อ่าง-โอ่ง

            วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคใตท้ งั้ มขุ ปาฐะและลายลกั ษณม์ คี วามโดดเดน่ ดา้ นการใชค้ ำ� สมั ผสั สระ
และค�ำสมั ผัสอักษรซึง่ สังเกตไดอ้ ย่างชัดเจน

            ตัวอย่างบทวรรณกรรมมุขปาฐะท่ีปรากฏการใช้ค�ำสัมผัสสระและค�ำสัมผัสอักษร เช่น
เพลงกล่อมเดก็ ตอ่ ไปน้ี (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2541, น. 224)

	 	 พี่ชายเหอ	              กินน้ําตาลแก้หวานหยิน
	 หวานหลอดลอดใต้ล้ิน	       น้องโร้หมดสิ้นล้ินลมชาย
	 	 ก่อไฟสักสองสามกอง	 เผาหัวอกน้องเสียให้ตาย
	 น้องโร้หมดส้ินล้ินลมชาย	  ฆ่าเสียอย่าไว้เหลยเหอ
	 (หวานหยิน = หวานเย็น, หลอด = ตลอด, โร้ = รู้, เหฺลย = เลย หรืออีก)
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46