Page 38 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 38

10-28 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

ภาพท่ี 10.6 แม่ซ้ือท้ัง 4 องค์ ที่มาปกปักรักษาทารก	 ภาพท่ี 10.7 	บรรยายกาศการขบั รอ้ งเพลงกลอ่ มเดก็ ภาคใต้
ที่มา:	 วมิ ล ด�ำศรี, 2539. 		          ที่มา: สรุ วิทย์ คงทอง, 2530.

เน้ือหาของวรรณกรรมลายลักษณ์

       วรรณกรรมหนงั สอื บดุ หรอื ลายลกั ษณใ์ นทอ้ งถน่ิ ภาคใตม้ เี ปน็ จำ� นวนมากและมเี นอ้ื หาแตกตา่ งกนั ไป
สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (2542, น. 7054-7055) ได้สรุปและจัดแบ่งเน้ือหาของวรรณกรรมลายลักษณ์
ภาคใต้ไว้ 10 หมวด ดงั น้ี

       1. 	 กฎหมาย สว่ นใหญค่ ดั ลอกมาจากภาคกลาง มบี างสว่ นดดั แปลงแกไ้ ขใหเ้ หมาะกบั สภาพทอ้ งถนิ่
ภาคใต้ มชี ือ่ เรียกต่างกนั เช่น กฎหมาย พระอัยการ หลกั ไชย และหลักอินทภาษ บ้างก็เรยี กตามลักษณะ
เฉพาะกม็ ี เช่น การปรับไหม ลกั ษณะผัวเมีย และลกั ษณะพยาน

       2. 	ศาสนา สว่ นใหญเ่ ปน็ ศาสนาพทุ ธและพราหมณ์ เชน่ เจด็ ตำ� นาน ชาดก พระกมั มฏั ฐาน พระเจา้
หา้ องค์ พระไตรลกั ษณ์ พระธรรม พระธรรมเทศนา พระธาตกถา พระนพิ พาน พระปาตโิ มกข์ พระพทุ ธคณุ
พระโพธิสตั ว์ พระมาลัย พระวนิ ัย พระศรอี าริย์ พระอภธิ รรม พทุ ธทำ� นาย และพุทธประวัติ

       3. 	ต�ำนาน เช่น ต�ำนานนก ต�ำนานพระธาตุ ต�ำนานเมือง ต�ำราก�ำเนิดข้าว นางเหมชาลา
พระทนตกุมาร และแม่โพสพ

       4. 	ต�ำรา เชน่ ก กา แจกลกู กจั จายนะสตู ร กาพยส์ นกุ คมั ภรี แ์ พทย์ คาถา-ตำ� รายา ฉนั ทศาสตร์
บรรพ ต�ำรากาพย์ ต�ำราเรียงสาดเรยี งหมอน ตำ� รากำ� เนิดไข้ ตำ� ราช่าง ต�ำราดูนิมิต ตำ� ราดแู มว ตำ� ราดู
ลกั ษณะ ตำ� ราดลู กั ษณะแมว ต�ำราต้ังบ้าน ต�ำราตัดไมป้ ลูกเรือน ต�ำราท�ำนาน ต�ำรานกเขา ต�ำรานกเขา
เล็ก ตำ� ราบบี นวด ต�ำราปลูกเรือน ต�ำราพญาสุวรรณ ตำ� ราพระปาน ต�ำราพชิ ยั สงคราม ตำ� รามาตราวดั
ตำ� รายาก ตำ� รายาพระอาจารยพ์ อน ตำ� ราเรียน ตำ� ราไสยศาสตร์ ต�ำราโหราศาสตร์ ประถม ก กา ประถม
จินดา ประถมมาลา แม่กลอน ลกั ษณะบตุ ร ศลิ ปะศาสตร์ และสงั ขยานบั

       5. 	ความเชื่อ เชน่ คาถาของอาจารยพ์ อน คาถาปลุกควาย คาถาอาคม เคร่ืองแต่งควาย เครื่อง
บัดพลีจอมปลวก ดูโชคชะตา ท�ำขวัญข้าว เทวดาให้ฤกษ์ พยากรณ์ มหาชัยคาถา แม่ยามนาที ยันต์
ยนั ต์-คาถา ยามดำ� เนินพระราม ฤกษ์ ฤกษย์ าม ฤกษย์ ามการตัดผม ฤกษส์ งคราม วันมงคล เวทมนตร์
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43