Page 34 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 34

10-24 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ไทย

กิจกรรม 10.1.2
       1. จงเรียกล�ำดับของค�ำประพันธ์ท่ีใช้แต่งวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทลายลักษณ์ จาก

ประเภททม่ี รี ปู แบบหลากหลายทสี่ ดุ ไปหาประเภททม่ี รี ปู แบบไมห่ ลากหลาย คอื “กาพย์ กลอน โคลง และ
ฉนั ท์”

       2. จงพิจารณาวา่ บทประพันธ์ต่อไปนี้ในวรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคใตใ้ ชค้ ำ� ประพนั ธป์ ระเภทใด และ
บอกลักษณะเด่นที่สงั เกตได้ 2 ประการ

	 	 ฟ้าลั่นเหอ	                         ล่ันมาโครมโครม
	 ฟ้าผ่าน้าเณรโฉม	 	                    ด้ามลกจมดิน
	 ร้องเรียอ์ป้าทองทัก	                  ต้ังสองสามพักไม่ได้ยิน
	 ด้ามลกจมดิน	 	                        ใต้ต้นอินท์นิลใหญ่เหอ

    	 (ลก = มีดพก, เรียอ์ = เรยี ก)

แนวตอบกิจกรรม 10.1.2
       1. 	ฉนั ท์ กาพย์ โคลง และกลอน
       2. 	เป็นค�ำประพันธป์ ระเภทเพลงกลอ่ มเดก็ มลี ักษณะเด่นทส่ี งั เกตไดค้ อื
            2.1 ในวรรคแรกและวรรคสดุ ทา้ ยลงทา้ ยดว้ ยค�ำว่า “เหอ”
            2.2 วรรคทส่ี กี่ ับวรรคทเ่ี จด็ เป็นการซํ้าข้อความเดยี วกัน

เรื่องที่ 10.1.3
เน้ือหา

       เนื้อหาของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคใต้ท้ังมุขปาฐะและลายลักษณ์เกิดข้ึนด้วยปัจจัยหลายประการ
ปัจจัยแรกคือผู้ประพันธ์ซึ่งเป็นปัจเจกชนท่ีมีความรู้ ความคิด และอารมณ์ความรู้สึก มีประสบการณ์
ไดพ้ บเหน็ สง่ิ รอบตวั ไมว่ า่ จะเปน็ ธรรมชาติ สง่ิ เหนอื ธรรมชาติ ความเปน็ ไปของวถิ ชี วี ติ ผคู้ นทหี่ ลากหลาย
ตลอดจนภมู ปิ ญั ญาของบรรพชนทไ่ี ดส้ บื ตอ่ กนั มา สง่ิ เหลา่ นน้ั มากระทบความรสู้ กึ นกึ คดิ แลว้ ผปู้ ระพนั ธจ์ งึ
ถา่ ยทอดออกมาเปน็ วรรณกรรม ปจั จยั ตอ่ มาคอื ความเปน็ ไปของภายนอกทอ้ งถนิ่ ภาคใต้ เชน่ วรรณกรรม
จากเมืองหลวงหรือต่างชาติที่หลั่งไหลมาภาคใต้ ผู้ประพันธ์รับรู้แล้วแสดงออกเป็นวรรณกรรมท่ีมีเน้ือหา
อนั หลากหลาย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39