Page 37 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 37

วรรณกรรมท้องถนิ่ ภาคใต้ 10-27

            3.3 ความเช่ือและประเพณี ความเช่ือและประเพณที ชี่ าวปกั ษ์ใต้ยึดถือและปฏบิ ตั สิ ืบตอ่ กนั
มานบั ตงั้ แตอ่ ดตี จนกระทงั่ ปจั จบุ นั มหี ลายประเพณี เชน่ ประเพณสี ารทเดอื นสบิ ซง่ึ มชี อ่ื เสยี งเปน็ อนั มากท่ี
นครศรีธรรมราช แต่ท้องถ่ินจังหวัดอ่ืนในภาคใต้ก็ปฏิบัติกันทั่วไป ประเพณีชักพระหรือลากพระจะมี
ชอ่ื เสยี งทจ่ี งั หวดั สรุ าษฎรธ์ านแี ตจ่ งั หวดั อน่ื ในภาคใตก้ ม็ กี ารปฏบิ ตั อิ ยเู่ ชน่ กนั สว่ นคตคิ วามเชอื่ ทม่ี อี ยทู่ ว่ั ไป
คือ ความเชื่อเรื่องบุญกรรมและชาติภพ การบนและการแก้บน และนรกสวรรค์ เนื้อหาเหล่านี้ปรากฏอยู่
ในวรรณกรรมมุขปาฐะท้งั ส้นิ

            ตัวอย่างเช่นเพลงกล่อมเด็กบทหน่ึงท่ีกล่าวถึงประเพณีวันสารทเดือนสิบว่ามีการจัดหฺมฺรับ
หรือส�ำรับใส่อาหารที่จะน�ำไปถวายพระที่วัด มีการตั้งจิตอธิษฐานส่งบุญกุศลน้ันให้บรรพบุรุษท่ีล่วงลับไป
แลว้ บทเพลงกล่อมเด็กมวี ่า (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2541, น. 130)

	 	 ท�ำบุญใหญ่เหอ	         ท�ำบุญวันสารท
	 ยกหฺมฺรับดับถาด	 	       ไปวัดไปวา
	 กรวดนํ้าตั้งจิตอธิษฐาน	  ส่งผลศีลทานให้โปย่า
	 พ่อแม่ตายายลุงป้า	       น้าอาข้ึนเมืองบนเหอ
	 (หฺมฺรับ = ส�ำรับท่ีจัดข้ึนใส่อาหารในพิธีวันสารท, โป = ปู่, เมืองบน = สวรรค์)	

       4. วรรณกรรม วรรณกรรมมขุ ปาฐะทอ้ งถน่ิ ภาคใตม้ เี นอื้ หาสว่ นหนงึ่ ทกี่ ลา่ วถงึ เหตกุ ารณห์ รอื เรอื่ ง
ราวของวรรณกรรมลายลักษณ์ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากภาคกลาง ทั้งวรรณกรรมราชส�ำนัก เช่น
สงั ขท์ อง พระอภยั มณี สงั ขศ์ ลิ ปช์ ยั มหาเวสสนั ดรชาดก และวรรณกรรมลายลกั ษณพ์ น้ื บา้ น เชน่ นางอทุ ยั
พระสุธนมโนราห์ พระรถเมรี นางหงส์ สวุ รรณหงส์ นางแตงอ่อน

       ตัวอยา่ งนทิ านพน้ื บ้านเรอ่ื ง “พระศรสี ธุ น” มีเน้ือเรือ่ งส่วนหน่ึงดังนี้ (วรวรรธน์ ศรียาภัย, 2544,
น. 200)

       พระศรสี ธุ นลกู ทา้ วอาทติ ย์ ถงึ ทา้ วอาทติ ยก์ บั ทา้ วทมุ พรธริ าชเปน็ พกี่ บั นอ้ ง เมอื่ ทา้ วอาทติ ย์
มีเมีย ถึงท้าวทุมพรธิราชไปพลอยอยู่กับท้าวอาทิตย์ ถึงอยู่มาๆ ท้าวอาทิตย์เห็นน้องไม่มีเมียเป็นตัว
เป็นตน ถึงก็ขับไล่ออกจากบ้านถึงท้าวทุมพรธิราชมาๆ มาๆ ก็มามีเมีย ก็มีลูกเจ็ดคน ท้าวทุมพร
ธิราชก็หาให้ลูกเดินดินไม่ ก็ใส่ปีก ใส่หางให้ลูก ลูกบินไปไหนก็ไปเป็นฝูงแหละ แล้วก็ไปอาบน้ํา
ในสระอโนดาต...
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42