Page 29 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 29

วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคใต้ 10-19

       วรรณกรรมหนงั สอื บดุ สว่ นหนง่ึ เขยี นหรอื บนั ทกึ เปน็ รอ้ ยกรองซง่ึ มลี กั ษณะทางฉนั ทลกั ษณท์ หี่ ลาก
หลาย ฉนั ทลกั ษณท์ สี่ ำ� คญั และพบเปน็ สว่ นใหญใ่ นวรรณกรรมหนงั สอื บดุ คอื กาพย์ กลอน โคลง และฉนั ท์
ฉนั ทลักษณเ์ หลา่ น้ีลว้ นไดร้ ับอทิ ธิพลมาจากภาคกลางท้งั ส้นิ แต่เม่อื ใช้ฉันทลกั ษณน์ ีบ้ นั ทึกวรรณกรรมนั้น
กวีชาวใต้จะใช้ตัวอักษรของภาคกลางแต่เขียนตามเสียงพูดของชาวปักษ์ใต้เป็นหลัก และบางค�ำก็ใช้ค�ำที่
เป็นค�ำภาษาไทยถิ่นใต้โดยเฉพาะ ลักษณะฉันทลักษณ์ท่ีส�ำคัญซึ่งกล่าวในที่น้ีมี 4 ประเภท คือ กาพย์
กลอน โคลง และฉันท์ มีรายละเอยี ดและตัวอย่างดังต่อไปน้ี

       1. กาพย์ วรรณกรรมหนังสือบุดประเภทร้อยกรองจะใช้ค�ำประพันธ์ประเภทกาพย์เป็นส่วนใหญ่
ฉันทลักษณ์ประเภทกาพย์ท่ีพบโดยส่วนใหญ่มี 3 ชนิด คือ กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16 และกาพย์
สุรางคนางค์ 28 มีรายละเอยี ดและตัวอย่างดงั น้ี

            1.1 	กาพย์ยานี 11 บทหนงึ่ มี 4 วรรค โดยสว่ นใหญว่ รรคทห่ี น่ึงมี 5 คำ� วรรคทีส่ องมี 6 คำ�
วรรคที่สามมี 5 ค�ำ และวรรคท่ีสมี่ ี 6 ค�ำ วรรคที่หน่ึงกบั วรรคท่ีสองรวมกนั ได้ 11 คำ� จึงเรียกยานี 11

            ตวั อยา่ งกาพยย์ านี 11 เชน่ วรรณกรรมเรอื่ ง “เตา่ ทอง” ทปี่ รวิ รรตแลว้ ดงั นี้ (ชวน เพชรแกว้ ,
2533, น. 7)

	 	 มาจะกล่าวถึงชาวนา	   ยายทองสากับตาใส
	 ผัวเมียจนเข็ญใจ	 	     ถางแต่ไร่อยู่ปลายนา
	 	 เป็นบ่าวท่านเศรษฐี	  แต่เดิมท่ีเฒ่าชรา
	 แต่แรกเข้ารักษา	 	     ทุกวันปีเฝ้าโรงฉาง	

            1.2 	กาพย์ฉบัง 16 บทหนึง่ มี 3 วรรค โดยส่วนใหญ่วรรคที่หนึ่งมี 6 ค�ำ วรรคทีส่ องมี 4 ค�ำ
และวรรคท่สี ามมี 6 ค�ำ รวม 16 คำ� จงึ เรียกฉบงั 16

            ตวั อย่างกาพย์ฉบับ 16 เช่น วรรณกรรมเรอ่ื ง “จำ� ปาส่ีตน้ ” ท่ีปรวิ รรตแลว้ ดงั นี้ (ศุภวรรณ
สอนสังข์, 2534, น. 485)

	 	 เสน่หากราบลาแล่นไป	 นุชนางทรามวัย
	 อีกท้ังสาวใช้ซ้ายขวา
	 	 อัคคีจึงถามธิดา	     ท่านผู้เสน่หา
	 ท้าวตรัสมาว่าประการใด

            1.3 กาพย์สุรางคนางค์ 28 บทหน่ึงมี 7 วรรค โดยส่วนใหญ่วรรคหนึ่งมี 4 ค�ำ จึงเรียก
สรุ างคนางค์ 28 วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใตบ้ างเรือ่ งเรยี กคำ� ประพันธช์ นดิ นว้ี ่า “ราบ”

            ตวั อยา่ งกาพยส์ รุ างคนางค์ 28 เชน่ วรรณกรรมเรอื่ ง “กฤษณาสอนนอ้ งคำ� ฉนั ท”์ ทป่ี รวิ รรต
แลว้ ดังน้ี (อัจฉราภรณ์ ทองสร้อย, 2548, น. 17)
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34