Page 22 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 22

10-12 ภาษาถนิ่ และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย

แบง่ เปน็ 2 จงั หวะ คอื 3/5 นยิ มใชเ้ ปน็ บทชมความงามของตวั ละคร บทชมธรรมชาติ บทอศั จรรยห์ รอื บท
เข้าพระเขา้ นาง 	

            ส�ำหรับกลอนลอดโหม่งซึ่งเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ค�ำคอน ใช้เป็นบทพรรณนาอารมณ์ ลีลา
กลอนเนบิ ๆ ชา้ ๆ สลบั กบั เสยี งโหมง่ โดยจะตตี รงลกู เสยี งแหลม 2 ครง้ั เสยี งทมุ้ 2 ครงั้ ซงึ่ ดงั “โหมง่ ๆ ทมุ้ ๆ”
กลอน 1 บทจะมี 8 วรรค วรรคละ 4-5 คำ� เมอ่ื กลอนจบบทจะตโี หมง่ เสยี งทมุ้ ลากยาวเปน็ “โหมง่ ๆ ทมุ้ ๆ
ทมุ้ ๆ ทมุ้ ๆ” สว่ นกลอนทอยเรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ กลอนคู่ กลอน 1 บท มี 6 วรรค วรรคท่ี 1 มี 6 ค�ำ
วรรคที่ 2 มี 3 คำ� วรรคท่ี 3 มี 5 คำ� วรรคที่ 4 มี 6 คำ� วรรคที่ 5 และ 6 มวี รรคละ 3 คำ� วรรคสดุ ทา้ ย
จะมีค�ำซํ้ากันเป็นคู่เสมอ ตัวอย่างบทกลอนหนังตะลุงท่ีเป็นบทยักษ์ของหนังประยูรใหญ่ บันเทิงศิลป์
แตง่ เปน็ กลอน 8 เชน่ (วิมล ด�ำศรี, 2539, น. 168)

	 โสธกยกเรื่องมีเมืองยักษ์	             อาณาจักรตั้งติดทิศตะวันตก
เป็นชาติยักษ์อกุศลคนชราบ	               ประพฤติบาปคนทมิฬปิ่นดิลก
เหล่าบรรดาอสุรงค์ด�ำรงยก	               ขึ้นให้ปกป้องเขตประเทศยักษ์
ทั้งแปดทิศไม่ใครคิดจะต่อสู้	            ประกอบกู้เกียรติยศปรากฏศักดิ์
(คนชราบ = คนไม่ดี, อสุรงค์ = ยักษ์)

            1.2 กลอนโนรา การแสดงมโนราจะใชฉ้ ันทลกั ษณ์ของคำ� ประพนั ธห์ ลากหลายเช่นเดยี วกับ
หนังตะลงุ และลลี ากลอนกเ็ คลอื่ นไหวไปตามชว่ งการแสดง ฉันทลกั ษณท์ เี่ ห็นได้ชัดเจน คอื กลอน 4 และ
กลอน 8

            กลอน 4 นน้ั แม้เรยี กเชน่ นแ้ี ต่มไิ ดห้ มายความว่าวรรคหนึง่ ๆ มี 4 คำ� ตลอดท้ังบท แต่กม็ ี
โนราบางคนยดึ หลกั วรรคละ 4 คำ� เปน็ สว่ นมากทงั้ บทเลยกม็ ี โนราบางคนยดึ หลกั วรรคหนา้ 4-6 คำ� วรรค
หลัง 6-7 คำ�

            ตวั อยา่ งกลอนโนราทเ่ี ปน็ กลอน 4 วรรคหนง่ึ มี 4 คำ� ตลอดทงั้ บท เชน่ กลอนโนราทเ่ี รยี กวา่
ค�ำพรัด ใชร้ อ้ งอวยพรและเก้ียวพาราสี เชน่ (สภุ าพร มากแจ้ง, 2536, น. 194)

	 	 ชักพระพร้อมพร้อม	                   หอมมาไรไร
	 ฝนแปรแลไป	 	                          ในพื้นพสุธา
	 แลเห็นสาวน้อย	 	                      พร้อยแพร้วแววตา
	 รูปโอ่โสภา	 	                         ห่มผ้าสีเขียว
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27