Page 46 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 46

2-36 ทฤษฎแี ละการวจิ ารณ์ภาพยนตร์
ผ้ชู มและฝา่ ยบา้ นเมอื งเพราะช่วยสนับสนนุ Socialist Realism ชัมยัทสกถี้ งึ กบั ให้การยกย่องในฐานะที่
ใหค้ วามสำ� คญั กบั ตวั ละครแบบปจั เจกบคุ คลแตกตา่ งจากภาพยนตรใ์ นชว่ งทศวรรษ 1980 ทส่ี รา้ งใหม้ วลชน
เปน็ พระเอก Chapayev จงึ เปน็ ภาพยนตรท์ ม่ี อี ทิ ธพิ ลมากทสี่ ดุ เรอ่ื งหนงึ่ ในประวตั ศิ าสตรภ์ าพยนตรโ์ ซเวยี ต

       การสร้างภาพยนตรท์ กุ เรอ่ื งตอ้ งผา่ นการตรวจพิจารณาอย่างละเอียดจากสำ� นกั งานของชัมยทั สก้ี
บทภาพยนตร์จะถูกตรวจตราซ้�ำแล้วซ้�ำเล่าก่อนที่จะอนุญาตให้น�ำไปสร้างเป็นภาพยนตร์ได้ ระหว่างการ
ถ่ายท�ำก็อาจถูกสั่งให้แก้ไขใหม่หรือให้พักการสร้างไว้ก่อนได้ทุกเม่ือ ด้วยระบบอันยุ่งยากของส�ำนักงาน
ประกอบกับบทภาพยนตร์ส่วนมากไม่ผ่านการอนุมัติ ท�ำให้ภาพยนตร์ในแนวน้ีมีอยู่เป็นจ�ำนวนน้อยมาก
ตลอดทศวรรษ 1930 ภาพยนตร์ที่ได้สร้างสักเรื่องหนึ่งก็ต้องใช้เวลาหลายปีเพราะถูกตรวจสอบตลอด
(Thompson & Bordwell, 1994, pp. 293-296)

       อยา่ งไรกต็ าม ภาพยนตรแ์ นวสจั สงั คมนยิ มไดแ้ พรห่ ลายไปในหลายประเทศ เชน่ โปแลนด์ ฮงั การี
และเชคโกสโลวาเกยี และมรี ปู แบบทป่ี รบั เปลยี่ นไปบา้ ง จอร์จ ลูคักส์ (Georg Lukacs) นกั สนุ ทรยี ศาสตร์
ชาวฮังกาเรียน ซึ่งแมัจะท�ำงานเก่ียวข้องกับนวนิยายเป็นส่วนใหญ่ แต่ข้อสังเกตต่อทฤษฎีสัจสังคมนิยม
ของเขาสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับศิลปะภาพยนตร์ได้ โดยลูคัคส์มีความคิดว่าถ้ามีความขัดแย้งกัน
ระหว่างความถกู ต้องทางอุดมการณ์กับความจริงท่เี ปน็ อยู่ ศิลปนิ ควรจะอทุ ิศตวั ต่อความเป็นจริง จริง ๆ
ศิลปินต้องบันทึกสิ่งที่เขาเห็นอยู่รอบตัวอย่างซื่อสัตย์โดยปราศจากความกลัวหรือความประทับใจ ซึ่ง
จะบรรลุผลได้ก็ต่อเมื่อศิลปินมีความตรงไปตรงมา ถ่อมตัว และลดละความมีตัวตน

สรุป

       ทฤษฎภี าพยนตรไ์ ด้พัฒนาไปอกี หลายทฤษฎี และมที ฤษฎใี หม่เกิดขนึ้ ตามลกั ษณะของการสรา้ ง
ภาพยนตรแ์ บบใหมๆ่ นอกจากนกี้ ย็ งั ไดม้ กี ารนำ� ทฤษฎขี องศลิ ปะแขนงอน่ื ๆ เขา้ มาอธบิ ายวเิ คราะห์ วจิ ารณ์
ภาพยนตรใ์ นมุมมองต่างๆ อกี ด้วย ซ่งึ ทฤษฎีทง้ั หลายนั้นยงั คงมีกรอบความคิดเกยี่ วข้องกบั หลักการของ
ทฤษฎีพนื้ ฐาน 2 ทฤษฎคี ือ ทฤษฎรี ปู แบบนยิ มและทฤษฎีสัจนยิ มน้ีอยู่นั่นเอง

กิจกรรม 2.3.2
       1. 	ภาพยนตรส์ จั นิยมใหม่ของอติ าลมี หี ลกั การสร้างอยา่ งไร
       2. 	ยกตวั อย่างภาพยนตร์ของกล่มุ คลน่ื ลูกใหมข่ องฝรั่งเศส
       3. 	ภาพยนตรแ์ นวสจั สังคมนยิ มมลี กั ษณะเดน่ อย่างไร
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50