Page 45 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 45
ทฤษฎีภาพยนตรพ์ ืน้ ฐาน 2-35
และระดับของสจั จะในศลิ ปกรรมใดๆ จะถูกตัดสนิ จากทีว่ ่าใครเป็นผ้ผู ลติ และผลิตเพ่อื ใคร และต่างก็เหน็
พอ้ งกนั ว่าศลิ ปะต้องรับใช้การปฏวิ ตั ิ
แนวคิดทางด้านสุนทรียศาสตร์ตามหลักทฤษฎีของคาร์ล มาร์กซ์ (Marxist Aesthetics) นั้น
ถือว่า การทำ� งาน การสร้างสรรค์ การปฏิวัติ ผใู้ ช้แรงงาน หรอื ผทู้ ี่ถกู กดขเ่ี อารดั เอาเปรยี บทางสงั คมเป็น
ตวั แทนของความงามและความแทจ้ รงิ (กำ� จร สนุ พงษศ์ รี, 2523, น. 291)
ในปี 1934 โจเซฟ สตาลนิ (Josef Stalin) ผนู้ ำ� อกี คนหนง่ึ ของโซเวยี ต ไดจ้ ดั ประชมุ สภานกั เขยี น
โซเวียตขึ้น มีการร่างแนวทางของการท�ำงานศิลปะซึ่งรวมมาถึงศิลปะภาพยนตร์ด้วย โดยก�ำหนดว่างาน
ศิลปะท่ีถูกตัดสินว่าเป็นประโยชน์ต่อรัฐจะได้รับสิทธิพิเศษ งานศิลปะท่ีเน้นการโฆษณาชวนเชื่อจะได้รับ
สิทธิพิเศษสูงสุด การสร้างภาพยนตร์ทุกชนิดต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการก่อนเพื่อประกันว่ามี
ทศั นะทถ่ี กู ตอ้ ง ศลิ ปนิ หรอื ผสู้ รา้ งภาพยนตรย์ งั ถกู กำ� ชบั ไมใ่ หใ้ ชเ้ ทคนคิ มากเกนิ จำ� เปน็ อกี ดว้ ย จากนนั้ ทาง
สภานักเขียนก็ไดป้ ระกาศตัง้ แนวการผลิตงานศิลปะแบบ Socialist Realism ขึน้ อยา่ งเป็นทางการ โดย
คาดหมายวา่ ศลิ ปนิ ตอ้ งรจู้ กั ชวี ติ ดพี อทจี่ ะสามารถเสนอออกมาเปน็ ภาพอยา่ งซอื่ ตรงลงไปในงานศลิ ปะ และ
ไมใ่ ชเ่ สนออยา่ งแหง้ แลง้ เปน็ วชิ าการ หรอื บอกแคเ่ ปน็ ความจรงิ เรยี บๆ เทา่ นนั้ แตเ่ ปน็ การเสนอภาพของ
ความเปน็ จริงท่มี ีการปฏวิ ัตพิ ัฒนา (Thompson & Bordwell, 1994, p. 295) ศลิ ปะควรเสริมสรา้ งโลก
มากกวา่ เปน็ เพียงแคส่ ะทอ้ นถึงความมีอยูข่ องส่ิงใดส่งิ หนง่ึ เทา่ นัน้ (ก�ำจร สนุ พงษ์ศรี, 2523, น. 290)
ศิลปะแนวสัจสังคมนิยมกลายเป็นนโยบายจากทางการให้ใช้ในภาพยนตร์ตั้งแต่เดือนมกราคมปี
1935 ภายใต้การควบคุมดูแลของโบริส ชัมยัทสกี้ (Boris Shumyatsky) ผู้บริหารส�ำนักงานโซยุซกิโน
(Soyuzkino) ศูนย์รวมอุตสาหกรรมภาพยนตร์โซเวียต โดยความเห็นชอบของสตาลิน ผู้ที่ชื่นชมสนใจ
ภาพยนตร์เป็นพิเศษ
ข้อบัญญัติหนึ่งของศิลปะแนวน้ีก็คือการให้นักเขียนและศิลปินทุกแขนงส่งเสริมเผยแพร่นโยบาย
และอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์ (partiinost-“party-mindeeness”) ในผลงานศิลปะของพวกเขา
และมขี อ้ บญั ญตั อิ กี ดว้ ยวา่ ศลิ ปนิ ควรแสดงภาพชวี ติ ของคนธรรมดาสามญั ดว้ ยความเหน็ อกเหน็ ใจ (narod-
nost-“people centeredness”) เพื่อที่จะรับใช้พรรคและประชาชน ศิลปะควรให้การศึกษาและสร้าง
ตวั ละครทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งโดยเฉพาะในรปู ลกั ษณข์ องวรี บรุ ษุ ทเ่ี ขม้ แขง็ ความจรงิ ในแนวทางของสจั สงั คมนยิ ม
ย่อมต้องเก่ียวข้องกับอุดมคติคอมมิวนิสต์มิใช่ในแบบท่ีเห็นได้ท่ัวไป น่ันหมายความว่างานศิลปะของสัจ
สงั คมนยิ มมกั เสนอใหเ้ หน็ สงั คมโซเวยี ตในภาพลกั ษณท์ ด่ี หี า่ งไกลจากชวี ติ ความเปน็ จรงิ ใตอ้ ำ� นาจเผดจ็ การ
ของสตาลิน
ภาพยนตร์เร่ืองแรกท่ีตอบสนองหลักการของศิลปะสัจสังคมนิยมคือภาพยนตร์เรื่อง Chapayev
(1934) โดยเซอร์ไก และกอร์กีย์ วาสิเลียฟ (Sergei and Geory Vasiliev) สรา้ งจากชวี ิตจริงของทหาร
นายหนึ่งในสงครามกลางเมือง ภาพยนตร์เสนอภาพของพระเอก (Chapayev) อย่างน่าช่ืนชม รวมท้ัง
ผชู้ ว่ ยรปู หลอ่ และรา่ เรงิ ทมี่ ลี กั ษณะของชนชนั้ แรงงานทวั่ ไป ภาพยนตรย์ งั มที ง้ั เรอ่ื งของการทำ� งานและความรกั
เชน่ เดยี วกับภาพยนตรโ์ ซเวียตท้ังหลายและเลา่ เรอ่ื งอยา่ งเขา้ ใจง่าย เชน่ เมื่อพระเอกอธิบายยทุ ธวิธีรบให้
ทหารคนอื่นฟัง เขาก็น�ำมันฝรั่งหัวเล็กๆ มาวางเรียงเป็นแถวๆ สมมติว่าเป็นพลทหาร แล้วน�ำมันฝร่ัง
หวั ใหญ่มาสมมติเป็นผบู้ ังคบั การกองทหาร เป็นต้น ภาพยนตร์เร่อื งน้ปี ระสบความสำ� เรจ็ อยา่ งมากท้งั จาก