Page 44 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 44
2-34 ทฤษฎแี ละการวจิ ารณ์ภาพยนตร์
นอกจากน้ีตัวเอกของภาพยนตร์คล่ืนลูกใหม่ก็ยังไม่มีเป้าหมายในชีวิต ใช้เวลาหมดไปวันๆ กับ
การพูดคุย และน่ังด่ืมกินอยู่ตามร้านกาแฟหรือไม่ก็ไปดูภาพยนตร์ เร่ืองราวมักไม่เรียงต่อกันเพราะใช้วิธี
ตัดต่อท่ีไม่ต่อเนื่อง โดยเฉพาะโกดาร์ชอบที่จะใช้การล�ำดับภาพท่ีไม่ค�ำนึงถึงความต่อเน่ือง (jump cut)
ยิง่ ไปกว่านนั้ ภาพยนตรย์ ังมักจบแบบกำ� กวม ไมแ่ กไ้ ขปัญหาอะไร เช่น ในตอนจบของ The 400 Blows
เด็กชายตัวเอกของเรื่องซึ่งถูกกักตัวอยู่ท่ีโรงเรียนดัดสันดานได้วิ่งเหยาะๆ ลงทะเลท่ีขวางกั้นไม่ให้เขาหนี
ไปได้ เขาได้หมุนตัวกลับมา ทรุฟโฟต์ ซูมกล้องจับภาพเขาไว้แล้วหยุดนิ่ง (freeze frame) ค้างไว้เป็น
คำ� ถามในตอนจบเรอื่ งว่าชวี ติ ของเขาจะเป็นอย่างไรตอ่ จากนไี้ ป
เนอื่ งจากผกู้ ำ� กบั คลนื่ ลกู ใหมเ่ หลา่ นต้ี า่ งกส็ รา้ งภาพยนตรต์ ามแตท่ ต่ี นเองเหน็ ชอบ การรวมตวั ของ
พวกเขาจึงค่อยๆ สลายลงราวปี 1964 บางคนก็มีบริษัทภาพยนตร์ของตนเอง บางคนก็เข้าสู่ระบบ
อตุ สาหกรรมภาพยนตรฝ์ รง่ั เศส คงเหลอื ผกู้ ำ� กบั 2 คนทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งและมอี ทิ ธพิ ลสงู กค็ อื ทรฟุ โฟตแ์ ละ
โกดาร์ ถึงกระน้ันกลุ่มผู้ก�ำกับคล่ืนลูกใหม่ก็ยังแสดงให้เห็นว่า ภาพยนตร์มีหน้าท่ีบันทึกและเปิดเผยโลก
แห่งความจรงิ ทีเ่ ราประสบอยทู่ กุ เม่อื เช่ือวัน
ภาพยนตร์แนวสัจสังคมนิยม
ภาพยนตร์แนวสัจสังคมนิยม หรืออาจเรียกว่า ภาพยนตร์แนวสัจธรรมสังคมนิยม (Socialist
Realism) เป็นภาพยนตร์ท่ีเสนอความจริงตามอุดมการณ์ของประเทศในโลกคอมมิวนิสต์และสังคมนิยม
โดยมตี น้ กำ� เนดิ จากภาพยนตรข์ องโซเวยี ตทยี่ ดึ ถอื หลกั การของลทั ธมิ ารก์ ซสิ ม์ (Marxism) และสตาลนิ สิ ต์
(Stalinist)
ลัทธิมาร์กซิสต์ของคาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) เป็นระบบความคิดทางการเมือง สังคม และ
ปรชั ญาทเ่ี ชอื่ วา่ รากฐานของสงั คมมนษุ ยค์ อื เศรษฐกจิ ผทู้ คี่ รอบครองและบรโิ ภคทรพั ยส์ นิ มากทสี่ ดุ คอื ชนชนั้
ปกครอง โดยเฉพาะในสังคมทุนนิยม (capitalist society) ทรัพย์สินส่วนใหญ่ถูกควบคุมโดยชนชั้น
ปกครองกลุ่มน้อยท่ีจะยิ่งม่ังคั่งและมีอ�ำนาจบารมีเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ ไม่ในทางตรงก็โดยทางอ้อม แต่ทว่าผู้ที่
สร้างความมั่งค่ังให้นี้ซึ่งเป็นผู้ใช้แรงงานกลับได้รับส่วนแบ่งปันเพียงน้อยนิด และยังแปลกแยกจากกลุ่ม
สังคมเพราะถูกบังคับให้แข่งขันกันท�ำงานแทนท่ีจะร่วมมือกันผลิตเพ่ือสร้างสรรค์สังคมให้ดีขึ้นส�ำหรับ
ประชากรทง้ั หมด
ตามทฤษฎขี องมาร์กซสิ ตเ์ หน็ วา่ ประชาชนทกุ คนตอ้ งทำ� งานเพอ่ื สังคม ไดร้ ับการตอบแทนตาม
ความจำ� เปน็ ผลผลติ ทงั้ หมดเปน็ ของประชาชนและดำ� เนนิ การโดยประชาชนเพอื่ ผลประโยชนท์ ดี่ ที ส่ี ดุ ของ
ประชาชน เมอื่ ทกุ คนมคี วามเสมอภาคเทา่ เทยี มกนั บคุ คลกย็ อ่ มสามารถแสดงศกั ยภาพแหง่ มนษุ ยอ์ อกมา
ไดเ้ ตม็ ท่ี ทง้ั รสู้ กึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คมไมแ่ ปลกหนา้ ตอ่ กนั ความเทา่ เทยี มกนั ทางเศรษฐกจิ ทำ� ใหค้ นปฏบิ ตั ิ
ต่อกันฉันมิตรเพราะไม่ต้องแข่งขันกันอย่างดุเดือด เช่นนี้จะท�ำให้ประชาชนพอใจกับการได้แสดงออก มี
อิสรภาพ และสามารถกำ� หนดชะตาชวี ติ ของตนเองได้
พวกมารก์ ซสิ ตว์ เิ คราะหก์ จิ กรรมทกุ อยา่ งของมนษุ ยจ์ ากมมุ มองทางเศรษฐกจิ แมแ้ ตก่ บั งานศลิ ปะ
ก็จะถูกประเมินในลักษณะของสินค้า ชนชั้น และอ�ำนาจ เพราะเป็นงานท่ีผลิตโดยปัจเจกบุคคล ส�ำหรับ
ผบู้ รโิ ภคเฉพาะกลมุ่ นกั วจิ ารณแ์ นวมารก์ ซสิ ตม์ องงานศลิ ปะในบรบิ ททางสงั คมและการเมอื งเสมอ คณุ คา่