Page 39 - ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์
P. 39

ทฤษฎีภาพยนตร์พ้นื ฐาน 2-29
ชวี ติ ทน่ี น่ั ไอเซนสไตนถ์ กู บงั คบั ใหร้ ว่ มมอื กบั ระบอบสตลาลนิ ผลติ ภาพยนตรใ์ นแนวสจั นยิ มตอ่ มา (Abram,
Bell & Udris, 2001, pp. 257-260)
กิจกรรม 2.3.1

       1. 	ภาพยนตรเ์ ยอรมนั เอก็ ซ์เพรสชนั นสิ ม์มลี ักษณะอย่างไร
       2. 	เหตุใดภาพยนตรอ์ าวองทก์ าร์ดจึงมักดูเข้าใจยาก
       3. 	ภาพยนตรแ์ นวรูปแบบนิยมของโซเวยี ตมคี วามเด่นในดา้ นใด
แนวตอบกิจกรรม 2.3.1
       1. 	เป็นการแสดงออกอย่างรุนแรง อาจเป็นการสร้างฉากหรือแสดงความกดดันในใจของมนุษย์
ออกมา
       2. 	เพราะผู้สร้างภาพยนตร์มักสร้างตามความพอใจของตนเอง ไม่สนใจว่าคนดูจะเข้าใจเรื่องราว
หรอื เทคนคิ ที่เขาใช้หรอื ไม่
       3. 	การตัดตอ่ มองทาจ โดยเฉพาะในวธิ ีของไอเซนส์ไตน์

เร่ืองที่ 2.3.2
ความเคลื่อนไหวของทฤษฎีภาพยนตร์แนวสัจนิยม

       กลางศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ซีกโลกตะวันตกมีความเจริญทางอุตสาหกรรมและ
เทคโนโลยีมากมาย ท�ำให้เกิดมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อมวลชนนับแต่รถยนต์ไปจนกระท่ังถึงอุปกรณ์
ถา่ ยภาพ หบี เสยี ง จกั รเยบ็ ผา้ หลอดไฟฟา้ และอนื่ ๆ หรอื กลา่ วไดว้ า่ เปน็ ยคุ สมยั ของเครอ่ื งจกั ร เครอื่ งจกั ร
กลายเป็นส่ิงรักใคร่หลงใหลของผู้คน สิ่งที่เกิดขึ้นตามมาพร้อมกันน้ันก็คือ เกิดความสนใจจริงจังในเร่ือง
ของความจริง (realism) ในงานศิลปะ ซ่ึงเร่ิมขึ้นจากการค้นพบสิ่งประดิษฐ์ใหม่ทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เช่น ภาพถ่ายและภาพยนตร์ (Stromgren & Norden, 1984, pp. 248-249)

       ทฤษฎีภาพยนตร์แนวสัจนิยมซึ่งมุ่งหมายท่ีจะใช้ภาพยนตร์บันทึกความจริงท่ีเป็นอยู่อย่างตรงไป
ตรงมาไดเ้ กดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาใกลเ้ คยี งกนั นดี้ ว้ ย รวมทงั้ ไดเ้ กดิ ความเคลอื่ นไหวในการสรา้ งภาพยนตรแ์ นวนี้
อย่างต่อเนื่องในหลายประเทศดังเช่นภาพยนตร์สัจนิยมใหม่ในอิตาลี (Italian Neorealism) ภาพยนตร์
ของกลมุ่ คลนื่ ลกู ใหมใ่ นฝรงั่ เศส (The French New Wave) และภาพยนตรแ์ นวสจั สงั คมนยิ ม (Socialist
Realism) เปน็ ต้น
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44