Page 38 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 38
8-28 การวิจยั เบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
ผลการศกึ ษาในครงั้ กอ่ นๆ วา่ เทยี่ งตรงและยงั คงเชอื่ ถอื ไดห้ รอื ไม่ ผลยงั คงเดมิ หรอื แปรเปลยี่ นไปตามกาลเวลา
ตลอดจนวิเคราะห์หรือค้นหาข้อบกพร่องของงานต่างๆ เพื่อน�ำไปปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาให้มี
ประสิทธิภาพสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางสารสนเทศศาสตร์ ผลท่ีได้จากการวิจัยเชิงทดลองด้าน
สารสนเทศสามารถน�ำมาช่วยพัฒนาองค์ความรู้และพิสูจน์ทฤษฎีทางสารสนเทศศาสตร์ เป็นพื้นฐานของ
การทำ� วิจยั ระดับลึกท่พี สิ ูจน์วา่ ทฤษฎีนน้ั ยังคงถกู ตอ้ ง ยังใช้ได้หรอื ไม่
4.3 การขยายขอบข่ายของการศึกษาทางสารสนเทศศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับตัวแปรหรือประเด็น
ท่ีเป็นปัญหาในการทดลองให้กว้างขวางออกไปมากย่ิงข้ึน ด้วยการค้นหาข้อเท็จจริงของสาเหตุที่ท�ำให้
เกิดผล ในการศกึ ษาวจิ ยั ทางสารสนเทศศาสตรบ์ างคร้ัง ดำ� เนินการภายใต้ข้อจำ� กดั ต่างๆ จึงจ�ำเปน็ ต้องมี
การศึกษาวิจัยเพิ่มเติมต่อไปอีกในสภาวการณ์ที่เพิ่มข้ึน ตลอดจนการทดสอบการประยุกต์ใช้แนวคิดหรือ
ทฤษฎีจากศาสตร์อ่ืน เช่น การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศท่ีมีการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์
ในการศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศที่ยึดระบบเป็นศูนย์กลางมาเป็นการเน้นผู้ใช้เป็นส�ำคัญ มี
การนำ� แนวคดิ การตลาดทเี่ นน้ ความพงึ พอใจของลกู คา้ มาใชใ้ นการศกึ ษาความพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารของ
องค์การสารสนเทศ เป็นต้น การน�ำศาสตร์เก่ียวกับวิธีการหรือเครื่องมือในการวิจัยในวิชาอ่ืนที่เกี่ยวข้อง
หรอื แตกตา่ งมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ ชว่ ยใหไ้ ดข้ อ้ มลู ใหมๆ่ ทสี่ ามารถพฒั นางานสารสนเทศได้ ชว่ ยใหท้ ราบจดุ ออ่ น
ของพฤติกรรม และสามารถแกไ้ ขไดต้ รงจุด
กิจกรรม 8.2.1
1. การวจิ ยั เชงิ ทดลองมีลักษณะสำ� คัญอย่างไร
2. การวิจยั เชิงทดลองมีความส�ำคัญต่องานดา้ นสารสนเทศอย่างไร
3. หากนักศึกษาต้องการศึกษาประสิทธิภาพการสืบค้นข้อมูลของเครื่องมือค้นหากูเกิลสกอลาร์
(Google Scholar) ในการสืบค้นสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์และที่เก่ียวข้องของนักศึกษามหาวิทยาลัย
แห่งหนึ่ง โดยเลือกแบบการทดลองที่ศึกษากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมวัดก่อน-หลังการทดลอง ให้
นกั ศกึ ษาตอบค�ำถามต่อไปน้ี
3.1 แบบการทดลองนีจ้ ัดเป็นการทดลองประเภทใด
3.2 จงเขยี นแผนการทดลองนี้
แนวตอบกิจกรรม 8.2.1
1. การวจิ ยั เชงิ ทดลองมลี กั ษณะทสี่ ำ� คญั คอื มสี ง่ิ ทดลองหรอื มกี ารจดั กระทำ� มกี ารควบคมุ ตวั แปร
มกี ารสังเกต และมกี ลุ่มเปรยี บเทียบ
2. การวิจยั เชงิ ทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ มคี วามสำ� คัญสรปุ ได้ ดังนี้
2.1 การทดสอบความสัมพันธ์ การศึกษาปัญหาทางสารสนเทศด้วยวิธีการวิจัยเชิงทดลอง
ท�ำให้การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางสารสนเทศศาสตร์มีความชัดเจน ได้ข้อสรุปท่ีเป็นความจริง