Page 36 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 36
8-26 การวจิ ัยเบือ้ งตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
ตัวอย่าง เพื่อให้ได้รับการจัดกระท�ำตัวแปรต้นที่ผู้วิจัยสนใจ (treatment or intervention) เรียกกลุ่ม
ตวั อย่างกลุม่ นีว้ ่า กลุ่มทดลอง (experiment group) หรอื สมุ่ ตัวอย่างท่ีไม่ได้รับการจัดกระทำ� ตวั แปรตน้
ซงึ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งทไ่ี มไ่ ดร้ บั การจดั กระทำ� นเ้ี รยี กวา่ กลมุ่ เปรยี บเทยี บ (comparison group) หรอื กลมุ่ ควบคมุ
(control group) การวจิ ยั เชงิ ทดลองทแ่ี ทจ้ รงิ มหี ลายรปู แบบ แตท่ เี่ หมาะสมกบั การทดลองทางสารสนเทศ
ศาสตร์ ได้แก่ รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองที่แท้จริงที่มีกลุ่มควบคุมโดยรวบรวมข้อมูลก่อนและหลังการ
ทดลอง และรปู แบบการวิจัยเชงิ ทดลองที่แทจ้ รงิ ทม่ี กี ลุ่มควบคมุ โดยรวบรวมข้อมูลเฉพาะหลังการทดลอง
3.3.1 รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองที่แท้จริงท่ีมีกลุ่มควบคุมโดยรวบรวมข้อมูลก่อนและ
หลังการทดลอง (the randomized pretest-posttest control group design) มีการใชก้ ันมาก ลกั ษณะ
ส�ำคัญคือมีการศึกษาเปรียบเทียบ 2 กลุ่มหรือมากกว่า ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการ
รวบรวมข้อมูลตัวแปรตามท่ีสนใจศึกษาก่อนการทดลอง (pretest) และหลังการทดลอง (posttest) โดย
ตวั อย่างจะได้รบั การสมุ่ เข้ากล่มุ ทดลองหรือกลุ่มควบคมุ ดังภาพ
กลุ่มทดลอง --ทดสอบก่อน O1 --ใหส้ ง่ิ ทดลอง (X)------ทดสอบหลงั O2
การสมุ่ เขา้ กลมุ่ แบบสมบูรณ์ (R)
กลมุ่ ควบคุม ---ทดสอบก่อน OC1 -------------------ทดสอบหลงั OC2
การวิจัยรูปแบบนี้มีความตรงภายในมากเพราะการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
ชว่ ยอทิ ธพิ ลแทรกทอ่ี าจจะเกดิ ขนึ้ และขอ้ มลู จากการทดสอบกอ่ นและหลงั การทดลองสามารถนำ� มาวเิ คราะห์
เปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงท้ังระหว่างกลุ่ม (between group) และเปรียบเทียบภายในกลุ่ม (within
group) ของทั้งสองกลุ่ม การเปรียบเทียบข้อมูลภายในกลุ่มควบคุม จะท�ำให้อธิบายได้ว่า
การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขึน้ ในกลมุ่ ทดลองมาจากตัวแปรแทรกอื่นด้วยหรอื ไม่ เชน่ เหตุการณ์ภายนอกทไ่ี ม่
คาดคดิ วา่ จะเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งทที่ ำ� การศกึ ษา และการเปลย่ี นแปลงทางวฒุ ภิ าวะของผทู้ ดลอง แตก่ ารทดสอบ
กอ่ นการทดลองอาจมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ผลการทดลองได้ ทำ� ใหม้ ผี ลตอ่ ความตรงภายนอก กลา่ วคอื กลมุ่ ตวั อยา่ ง
ทไ่ี ดร้ บั การทดสอบกอ่ นการทดลอง จะไมเ่ ปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ขี องประชากรทงั้ หมด ซงึ่ โดยเฉพาะกลมุ่ ทไ่ี มเ่ คย
ได้รับการทดสอบก่อนการทดลอง เพราะการทดสอบก่อนการทดลองอาจจะเพ่ิมหรือลดความสนใจของ
ผูถ้ กู ทดลองทม่ี ตี อ่ ตวั แปรท่ตี อ้ งการศกึ ษา
3.3.2 รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองที่แท้จริงที่มีกลุ่มควบคุมโดยรวบรวมข้อมูลเฉพาะหลัง
การทดลอง (randomized posttest-only control group design) คลา้ ยกบั แบบแรก คอื มกี ารสมุ่ ตวั อยา่ ง
เขา้ กลมุ่ ทดลองหรอื กลมุ่ ควบคมุ ใหไ้ ดร้ บั สง่ิ ทดลอง แตไ่ มม่ กี ารทดสอบกอ่ นการทดลอง จงึ มขี อ้ ดี คอื ไมม่ ี
ปัญหาอทิ ธิพลของการทดสอบก่อนการทดลอง แต่กม็ ขี ้อจำ� กดั คอื ไม่มีข้อมูลเปรยี บเทียบพัฒนาการของ
แตล่ ะกลุ่ม ดังภาพ