Page 31 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 31
การวจิ ัยเชงิ คุณภาพและการวิจัยเชงิ ทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ 8-21
การเปลยี่ นแปลงในตวั แปรตามอยา่ งแท้จรงิ ดงั นัน้ การใหส้ ิง่ ทดลองจะเป็นตัวแปรอิสระทีผ่ วู้ จิ ัยจัดกระทำ�
ไดใ้ หก้ บั กลมุ่ ตวั อยา่ ง เชน่ การจดั ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ งทเี่ ปน็ กลมุ่ ทดลองเรยี นรวู้ ธิ กี ารสบื คน้ ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู
เฉพาะทางออนไลนจ์ ากคมู่ อื การใชฐ้ านขอ้ มลู ทหี่ อ้ งสมดุ จดั ทำ� ขน้ึ แลว้ ทำ� การสบื คน้ ฐานขอ้ มลู นนั้ กบั การให้
กลุ่มควบคุมการสืบค้นฐานข้อมูลโดยไม่ต้องอ่านคู่มือ หลังจากการทดลองสืบค้นจึงจัดให้มีการวัด
ความสามารถในการสบื คน้ ฐานขอ้ มลู ของกลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั สองกลมุ่ ในกรณนี ส้ี งิ่ ทดลองทผ่ี วู้ จิ ยั จดั ใหม้ ใี นการ
วจิ ยั น้ี คอื คมู่ อื การใชฐ้ านขอ้ มลู ออนไลนข์ องหอ้ งสมดุ ซงึ่ จดั เปน็ ตวั แปรตน้ ทม่ี ผี ลตอ่ ตวั แปรตาม คอื ระดบั
ความสามารถในการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์ของกลุ่มตัวอย่าง หากคะแนนการวัด
ความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลของกลุ่มทดลองสูงกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุม จึงอาจสรุปได้ว่า
ผลการศึกษาทเ่ี กดิ กับตัวแปรตามเกดิ จากการได้รับสง่ิ ทดลองท่เี ปน็ ตวั แปรต้น
2.2 มีการควบคุมตัวแปร (control) การท�ำวิจัยเชิงทดลองต้องมีการควบคุมตัวแปรท่ีเก่ียวข้อง
โดยเฉพาะตัวแปรภายนอกท่ีจะมีผลต่อตัวแปรตาม ใช้หลักการแมค-มิน-คอน (Max-Min-Con) คือ
1) การเพ่ิมค่าความแปรปรวนท่ีเกิดจากส่ิงทดลองให้มีค่าสูงสุด 2) การลดค่าความแปรปรวนที่เกิดจาก
ความคลาดเคลอ่ื นใหม้ ีค่าตา่ํ สดุ และ 3) การควบคุมความแปรปรวนของตวั แปรภายนอกอนื่ ๆ ซง่ึ อาจสง่
ผลกระทบต่อการทดลองได้ เพื่อให้เกิดความตรงภายใน (internal validity) ซึ่งท�ำให้มั่นใจว่าผลการ
ทดลองนั้นเกิดจากการทดลอง (ตัวแปรต้น) จริง และความตรงภายนอก (external validity) ท่ีท�ำให้
สามารถสรุปได้ว่าผลการวิจัยเป็นตัวแทนของประชากร และใช้สรุปอ้างอิงไปยังมวลประชากรได้ (Ker-
linger, 2000)
การควบคุมสามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การควบคุมกลุ่มตัวอย่างด้วยการสุ่มหรือการจับคู่ การ
ควบคุมด้วยการเพิ่มตัวแปรหรือการจัดตัวแปร ตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการสืบค้น
ขอ้ มลู ฐานขอ้ มลู ปกติ กบั ฐานขอ้ มลู อจั ฉรยิ ะในหอ้ งสมดุ มหาวทิ ยาลยั ในการทดลองครง้ั นผี้ วู้ จิ ยั ตอ้ งเปรยี บเทยี บ
กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลมุ่ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะตา่ งๆ เหมอื นกนั เชน่ ทกั ษะคอมพวิ เตอร์ บคุ ลกิ ภาพ พนื้ ฐานความรเู้ ดมิ
และประสบการณก์ ารใชฐ้ านข้อมลู เป็นต้น
2.3 มีการสังเกต (observation) การวจิ ยั เชงิ ทดลองจะตอ้ งมกี ารสงั เกตผลการทดลอง เพอื่ พสิ จู น์
ว่าตัวแปรอิสระส่งผลต่อตัวแปรตามจริงหรือไม่ ส่งผลท�ำให้เกิดความแตกต่างหรือไม่ มีการวัดหรือ
การสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนจากการทดลองกับตัวแปรตาม แล้วเปรียบเทียบผลท่ีเกิดข้ึนระหว่าง
กลมุ่ ทดลองกบั กลมุ่ ควบคมุ ทไี่ มท่ ดลองดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ เปลยี่ นสภาพและเงอื่ นไขใหมไ่ ด้ เพอื่ เปรยี บเทยี บ
ผลทเี่ กดิ ขน้ึ สรปุ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตแุ ละผลไดแ้ ละตอ้ งสามารถทำ� การทดลองซาํ้ เพอื่ ตรวจสอบผลได้
2.4 มีกลุ่มเปรียบเทียบ (replication) การวจิ ยั เชงิ ทดลองจะตอ้ งมกี ลมุ่ ควบคมุ เอาไวเ้ ปรยี บเทยี บ
ผลการทดลองท่ีได้ เพราะการควบคุมตัวแปรภายนอกด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างหรือวิธีอื่นๆ น้ันสามารถ
ควบคมุ ไดเ้ พียงระดับหนง่ึ เทา่ น้ัน ยงั ไมอ่ าจควบคมุ อิทธพิ ลของตวั แปรภายนอกได้ทัง้ หมด จึงจ�ำเป็นตอ้ ง
มีกลุ่มควบคุมที่ไม่ให้ส่ิงทดลองไว้เปรียบเทียบ เพ่ือพิจารณาผลจากการให้สิ่งทดลองหรือตัวแปรต้น เช่น
เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มควบคุมเป็นกลุ่มที่ไม่ได้ให้ส่ิงทดลอง หรือระหว่าง
กลมุ่ ทดลองต้ังแต่ 2 กลมุ่ ขึน้ ไป แต่ละกลุ่มใหม้ กี ารทดลองท่ีแตกต่างกัน กล่าวคือ ให้มีประเภทหรอื ระดับ
ท่ีแตกต่างกันของตัวแปรตน้