Page 32 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 32

8-22 การวจิ ยั เบอ้ื งต้นทางสารสนเทศศาสตร์

3. ประเภทของการวิจัยเชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์  	

       การวิจัยเชิงทดลองท่ีใช้เกณฑ์การจ�ำแนกตามแบบการทดลอง สามารถจ�ำแนกเป็น 3 ประเภท
ไดแ้ ก่ การวจิ ยั เชงิ ทดลองขน้ั ตน้ การวจิ ยั เชงิ กง่ึ ทดลอง และการวจิ ยั เชงิ ทดลองแท้ (Campbell & Stanley,
1966) โดยแต่ละประเภทสามารถจำ� แนกเป็นประเภทการวจิ ยั ย่อยๆ ไดอ้ กี หลายประเภท ในการพิจารณา
แบบการทดลองน้นั มสี ัญลกั ษณต์ ่างๆ ทใี่ ช้อธิบายรูปแบบการวจิ ยั เชงิ ทดลอง ดังนี้

สัญลักษณ์แสดงสิ่งทดลอง
       X 	 หมายถึง 	สิ่งทดลองท่ผี ู้วิจยั ก�ำหนดให้กลุม่ ทดลองหรือตัวแปรตน้
       - 	 หมายถงึ 	ไม่มกี ารใหส้ ง่ิ ทดลอง

สัญลักษณ์แสดงการวัด
       O 	 หมายถึง 	การวัดหรอื การทดสอบหลงั การทดลองหรือตัวแปรตาม

สัญลักษณOO์แ21ส		ดหหงมมปาารยยะถถเภงึงึ ท		ขกกอาางรรกววลดัดั ุ่มตตัววัตแแัวปปอรรยตต่างาามมกห่อลนังจใหาก้ตกัวาแรปใรหตส้ ้น่ิงหทรดือลสองิ่งทหดรือลตองัวแปรตน้
       E 	 หมายถึง 	กลุม่ ทดลอง เปน็ กลุ่มท่ีใหส้ ิ่งทดลองหรือตวั แปรต้น
       C 	 หมายถงึ 	กลุม่ ควบคมุ เป็นกลุม่ ทีไ่ มใ่ หส้ ิง่ ทดลองหรอื ใหส้ งิ่ ทดลองทไ่ี มเ่ หมือนกลบั กลุ่ม	
                     ทดลอง
       R 	 หมายถึง 	กลุ่มตัวอย่างที่เกิดจากการสุ่มเข้ากลุ่มแบบสมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วยการเลือก
                     หนว่ ยตัวอยา่ งแบบสมุ่ (random selection) การจัดหนว่ ยตัวอยา่ งเข้ากลมุ่ แบบ
                     สุ่ม (random assignment) และการเลือกกลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุมแบบสุ่ม
                     (random treatment) เพ่ือทำ� ให้กลุม่ ตวั อย่างไม่มคี วามแตกตา่ งกัน

       ความแตกตา่ งของประเภทการทดลองเกดิ จากการออกแบบการทดลองทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งแผนการทรี่ ะบุ
วิธีการทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัย และหาข้อสรุปที่เท่ียงตรงเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
ตวั แปรตน้ กบั ตวั แปรตาม แบบการทดลองที่เลือกต้องให้ผลการทดลองท่มี ีความตรง ท้ังความตรงภายใน
และความตรงภายนอก ผลการทดลองทไ่ี ด้ (ตวั แปรตาม) จะตอ้ งเปน็ ผลจากการทดลอง (ตวั แปรตน้ ) และ
สามารถสรปุ อ้างองิ ไปยังประชากรเป้าหมายได้ (Koul, 2000) ดงั ตวั อยา่ ง

หัวข้อการวิจัย 	  การศึกษาประสทิ ธผิ ลคมู่ ือการสืบค้นฐานขอ้ มลู ออนไลน์ทหี่ อ้ งสมุดจัดท�ำข้นึ
                  ตอ่ ความสามารถในสบื คน้ ข้อมลู ออนไลนด์ ว้ ยตนเองของผู้ใช้บริการหอ้ งสมุด
ตัวแปรต้น (ส่ิงทดลอง) 	 ค่มู ือการสบื ค้นฐานข้อมลู ที่หอ้ งสมุดจัดท�ำขึน้
ตัวแปรตาม	        ความสามารถในสืบค้นข้อมลู ออนไลนด์ ้วยตนเองของผ้ใู ชบ้ รกิ ารห้องสมุด
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37