Page 37 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 37
การวิจยั เชงิ คณุ ภาพและการวจิ ยั เชงิ ทดลองทางสารสนเทศศาสตร์ 8-27
กลมุ่ ทดลอง ------ให้สง่ิ ทดลอง X ----------ทดสอบหลงั O1
การสุ่มเขา้ กลมุ่ แบบสมบรู ณ์ (R)
กลมุ่ ควบคมุ ---------------------------ทดสอบหลงั OC1
ตัวอย่างการออกแบบแผนการทดลองการวิจัยเชิงทดลองแท้ มีดงั น้ี
หากผู้วิจัยต้องการศึกษาปัญหาเดียวกันตามโจทย์กรณีศึกษาเดียวกัน ด้วยการเลือกแบบ
การทดลองทเ่ี ปน็ การวจิ ยั เชงิ ทดลองแท้ กต็ อ้ งดำ� เนนิ การใหม้ กี ารสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งเขา้ กลมุ่ แบบสมบรู ณ์ คอื
ต้องจัดให้มีการเลือกหน่วยตัวอย่างแบบสุ่มจัดหน่วยตัวอย่างเข้ากลุ่มแบบสุ่ม และการเลือกกลุ่มทดลอง
กลุ่มควบคุมแบบสุ่ม เป็นการท�ำให้กลุ่มตัวอย่างมีความเท่าเทียมกันเม่ือเร่ิมต้นท�ำการวิจัย กรณีตัวอย่าง
เป็นห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผู้วิจัยน�ำรายชื่อสมาชิกห้องสมุดมาด�ำเนินการสุ่ม ตามกรอบท่ีต้องการอาจ
กำ� หนดใหม้ กี ลมุ่ ตวั อยา่ งจากเพศ อายุ ชน้ั ปี สาขาวชิ า ใหม้ จี ำ� นวนเทา่ กนั ทงั้ สองกลมุ่ และมกี ารเลอื กหนว่ ย
ตัวอย่างจากประชากรทั้งหมด ตามจ�ำนวนท่ีก�ำหนดไว้ ซ่ึงอาจจะมีความยากเพราะ ผู้ที่ถูกเลือกอาจไม่
สะดวกเข้าร่วมการทดลอง
โดยสรุป แบบการทดลองมีหลายแบบ การเลือกแบบการทดลองใดข้ึนอยู่กับธรรมชาติและ
จุดประสงค์ของการทดลอง ชนิดของตัวแปรที่จัดกระท�ำ ตลอดจนธรรมชาติของข้อมูล ต้องพิจารณาว่า
ในแบบการทดลองมกี ารจดั กระทำ� มกี ารจดั ดำ� เนนิ การแบบสมุ่ และการจดั กลมุ่ ควบคมุ หรอื ไม่ เพราะแตล่ ะ
องคป์ ระกอบในแบบการทดลองมผี ลตอ่ การสรปุ แตกตา่ งกัน ในการวจิ ัยเชิงทดลองข้ันต้นไมอ่ าจจะสรปุ ได้
ว่าเป็นผลท่ีได้จากการทดลองหรือไม่ ในการวิจัยกึ่งทดลองผลการศึกษาอาจมาจากการทดลอง
บางส่วน แตใ่ นการทดลองแท้ผลสรุปท่ไี ดเ้ ป็นผลของการทดลองโดยตรง
4. ความส�ำคัญของการวิจัยเชิงทดลองทางสารสนเทศศาสตร์
วิธีการของการวิจัยเชงิ ทดลองและผลของการวจิ ยั เชงิ ทดลอง มีประโยชนใ์ นการศึกษาปญั หาทาง
สารสนเทศศาสตร์ สรุปได้ดังน้ี
4.1 การทดสอบความสัมพันธ์ การศึกษาปัญหาทางสารสนเทศด้วยวิธีการวิจัยเชิงทดลองตาม
แนวทางที่ศาสตร์อ่ืนๆ ใช้อยู่ มีความส�ำคัญต่อการแสวงหาความรู้ทางสารสนเทศและตอบปัญหาทาง
สารสนเทศ ท�ำให้การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรทางสารสนเทศศาสตร์มีความชัดเจน ศึกษาได้
ภายใต้การจัดสภาพการทดลองเพื่อท�ำนายผล เพียงแต่การจัดการทดลองอย่างแท้จริงในงานด้าน
สารสนเทศท�ำได้ยาก และไม่สามารถควบคุมปัจจัยต่างๆ ได้สมบูรณ์เท่ากับการทดลองทางวิทยาศาสตร์
โดยเฉพาะความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลท่ีแน่ชัด ก่อนด�ำเนินการในเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ท�ำให้ทราบถึง
องค์ประกอบที่เป็นสาเหตุของปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ข้อสรุปที่เป็นความจริงต่างๆ ท่ีสามารถน�ำไปใช้ใน
การอธบิ าย ท�ำนาย และควบคุมปญั หาท่ศี กึ ษาไดอ้ ย่างมีความเชอ่ื ม่นั และมคี วามตรงสูง
4.2 การยืนยันผลการวิจัยท่ีเคยมีผู้ศึกษาไว้แล้ว หรือแนวคิดหรือทฤษฎีเดิมที่มีการทดลองและ
นำ� ผลมาใชใ้ นการอธบิ ายปรากฏการณ์ทางสารสนเทศศาสตร์ เพ่อื ดวู ่ามีอะไรไม่เพิ่มเขา้ มาอกี หรือยืนยัน