Page 34 - การวิจัยเบื้องต้นทางสารสนเทศศาสตร์
P. 34
8-24 การวิจัยเบื้องตน้ ทางสารสนเทศศาสตร์
ตัวอย่างการออกแบบแผนการทดลองการวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น
1) แบบการทดลองชนิดศึกษากลุ่มเดียววัดหลังการทดลอง หากเลือกแผนการทดลองน้ี
เพอื่ ศกึ ษาปญั หาวจิ ยั ขา้ งตน้ ผวู้ จิ ยั ใหก้ ลมุ่ ตวั อยา่ ง 1 กลมุ่ ทเ่ี ปน็ ผใู้ ชบ้ รกิ ารจำ� นวนหนงึ่ เปน็ ใครกไ็ ด้ ศกึ ษา
คมู่ อื แลว้ ทดลองทำ� ตามขน้ั ตอนทค่ี มู่ อื ระบุ หลงั จากนน้ั ใหท้ ำ� แบบทดสอบเพอื่ วดั ความสามารถในการสบื คน้
ฐานขอ้ มลู ออนไลนห์ ลังจากการเรียนรแู้ ละทำ� ตามคูม่ ือ ว่าอยูใ่ นระดับใด
2) แบบการทดลองชนิดศึกษากลุ่มเดียวและวัดก่อน-หลังการทดลอง หากต้องการทราบ
ให้แน่ชัดว่าคู่มือมีประสิทธิภาพเพ่ิมความรู้ความสามารถได้แน่นอน โดยผู้วิจัยด�ำเนินการให้กลุ่มตัวอย่าง
1 กลุ่มเป็นใครก็ได้ ท�ำแบบทดสอบความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ก่อน แล้วจึงให้ศึกษา
คูม่ อื ทดลองทำ� ตามคู่มือ แล้วจงึ ใหท้ �ำแบบทดสอบอกี ครั้ง ผวู้ จิ ัยจะสามารถเปรยี บเทยี บความสามารถใน
การสืบคน้ ขอ้ มูลกอ่ นและหลังการทดลองได้ หากคะแนนความสามารถหลังการทดลองสูงกวา่ คะแนนก่อน
การทดลอง อาจสรปุ ไดว้ า่ ส่งิ ทดลองคือค่มู ือมปี ระสทิ ธผิ ลสรา้ งความสามารถในกลมุ่ ท่ศี ึกษาจริง
3) แบบการทดลองชนดิ ศกึ ษาหลายกลมุ่ วดั หลงั การทดลอง หากตอ้ งการใหม้ กี ารเปรยี บเทยี บ
ระหวา่ งกลมุ่ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งมกี ลมุ่ ทศ่ี กึ ษาสองกลมุ่ กลมุ่ ที่ 1 ใหศ้ กึ ษาและทำ� ตามคมู่ อื แลว้ จงึ ใหท้ ำ� แบบทดสอบ
สว่ นกลมุ่ ท่ี 2 ไมใ่ หศ้ กึ ษาและทำ� ตามคมู่ อื แตใ่ หท้ ำ� แบบทดสอบ คะแนนทแี่ ตล่ ะกลมุ่ ไดจ้ ะเปน็ ความสามารถ
ในการสบื คน้ ฐานขอ้ มลู ออนไลนข์ องแตล่ ะกลมุ่ เปรยี บเทยี บไดว้ า่ คนทศ่ี กึ ษาคมู่ อื กบั คนทไี่ มไ่ ดศ้ กึ ษาจาก
คู่มอื มคี วามสามารถสบื ค้นข้อมลู ได้เหมอื นกันหรอื แตกต่างกนั
การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ งในการทดลองทงั้ สามแบบขา้ งตน้ ไมไ่ ดเ้ ลอื กจากการสมุ่ ตวั อยา่ งแตอ่ ยา่ งใด
อาจจะเปน็ การเลอื กจากความสมคั รใจของหน่วยตัวอยา่ ง
3.2 การวิจัยก่ึงทดลอง (quasi-experimental research) การวิจัยกึ่งทดลองแตกต่างจากแบบ
การทดลองข้ันต้น เป็นการทดลองเชิงประยุกต์ท่ีใช้กันมากในการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Campbell &
Stanley, 1966) เพื่อแก้ข้อจ�ำกัดของการวิจัยเชิงทดลองแท้จริงมีการควบคุมสิ่งคุกคามต่อความตรงของ
การวิจัยมากขึ้นเท่าท่ีจะท�ำได้ มีการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง แต่ไม่ใช่การสุ่มเข้ากลุ่ม
แบบสมบูรณ์ เนือ่ งจากในการวจิ ยั ทางสังคมศาสตรท์ �ำได้ยาก ใชเ้ ปน็ ทางเลือกในการสรา้ งองคค์ วามรูแ้ ละ
ตรวจสอบเชิงสาเหตุในสถานการณ์ที่ไม่สามารถควบคุมได้อย่างสมบูรณ์ การวิจัยก่ึงทดลองมีแบบ
การทดลองหลายแบบให้เลือก ดงั น้ี
3.2.1 แบบการทดลองทศี่ กึ ษากลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ วดั กอ่ น-หลงั การทดลอง (non-
equivalent control group design หรือ pretest-posttest nonrandomized design) มีแบบแผน
การทดลองคลา้ ยกบั แบบการวจิ ยั ชนดิ ทศี่ กึ ษากลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ โดยมกี ารก�ำหนดใหส้ มุ่ ตวั อยา่ ง
และวดั กอ่ น-หลงั การทดลอง (the randomized pretest-posttest control group) แต่ต่างกันตรงทวี่ ่า
ไม่มีการสุมกลุ่มตัวอย่างแบบสมบูรณ์เพ่ือเข้ากลุ่ม เป็นแบบการทดลองท่ีใช้ในทางปฏิบัติมาก เพราะ
บางครั้งการออกแบบการวิจัยลักษณะนี้ผู้วิจัยไม่มีโอกาสจัดผู้รับการทดลอง เพราะกลุ่มต่างๆ มีอยู่แล้ว
ในขณะนน้ั หรอื เกดิ ขนึ้ ดว้ ยความสมคั รใจของผเู้ ขา้ รบั การทดลอง ผวู้ จิ ยั เพยี งแตจ่ ดั สงิ่ ทดลองให้ ดงั แผนการ
ทดลองตอ่ ไปน้ี