Page 17 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 17
การบริหารการผลติ ภาพยนตร์ 14-7
ขององค์การตา่ งๆ ผูผ้ ลติ ภาพยนตรท์ เ่ี คยอยใู่ นซีกของศิลปะจงึ เร่ิมเดินทางออกมาส่ดู ้านของพาณชิ ยแ์ ละ
ผลิตภาพยนตร์บนเงื่อนไขขององค์การต่างๆ เหล่าน้ี ซึ่งนั่นอาจเป็นแนวทางใหม่ของการผลิตภาพยนตร์
ในยคุ ใหม่
เหล่าน้เี อง จงึ เกดิ คำ� ว่า ภาพยนตร์ คือ พาณิชย์ศิลป์ (commercial arts) นน่ั ก็หมายความวา่
ในดา้ นหนงึ่ ภาพยนตรย์ งั เดนิ ตามการผลติ โดยเนน้ ศลิ ปะและการสรา้ งสรรคข์ องศลิ ปนิ หรอื ผผู้ ลติ ภาพยนตร์
แตใ่ นเวลาเดยี วกนั กป็ ฏเิ สธไม่ได้ว่า ภาพยนตรม์ คี วามเก่ยี วพันกับเงินและผลก�ำไร เมอื่ เปน็ เช่นนนั้ การจะ
ท�ำให้ภาพยนตรป์ ระสบความส�ำเร็จอาจตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั การบริหารจดั การ (management)
ในทศั นะของนกั วชิ าการสายการบรหิ ารอธบิ ายวา่ การบรหิ ารจดั การ คอื การผสมผสานทรพั ยากร
การจัดการด้วยกระบวนการจัดการ เช่น การวางแผนกลยุทธ์ การจัดองค์การสมัยใหม่ การมีภาวะผู้น�ำ
การควบคุมแนวใหม่ เพื่อบรรลปุ ระสิทธผิ ลและประสทิ ธิภาพ คอื ได้ท้ังงาน และไดท้ ้งั สิ่งที่ดกี วา่ ถกู กว่า
เร็วกว่า พึงพอใจมากกว่า (เสนห่ ์ จ้ยุ โต, 2558) หากน�ำมาปรบั ใช้กับกรณีของการบรหิ ารภาพยนตรก์ ็คอื
การบรหิ ารองค์การภาพยนตร์ใหส้ ามารถบรรลเุ ป้าหมายทวี่ างไวไ้ ด้
โดยปกตศิ าสตรแ์ หง่ การบรหิ ารจดั การมกั จะอยใู่ นดา้ นของวธิ คี ดิ เชงิ ธรุ กจิ หรอื สาขาดา้ นการตลาด
เพื่อหวังผลก�ำไร แต่ส�ำหรับกรณีของการบริหารจัดการภาพยนตร์กลับเป็นศาสตร์ท่ีเป็นลูกผสมระหว่าง
การตลาดและศลิ ป์ กลา่ วคือ
ในด้านศิลป์ การบริหารจัดการก็เพื่อท่ีจะท�ำให้กระบวนการผลิตภาพยนตร์ให้สอดรับกับศิลปะ
ภาพยนตร์ เกิดการแบ่งงานกันท�ำตามความสามารถของศิลปิน และท�ำให้ภาพยนตร์แล้วเสร็จตามความ
ตอ้ งการของผู้ก�ำกับภาพยนตรโ์ ดยคำ� นงึ ถึงแง่มมุ ดา้ นศิลปะเปน็ ส�ำคญั
ส่วนในด้านของการตลาด การบริหารจัดการก็จะมุ่งเน้นการผลิตภาพยนตร์เพ่ือให้ได้ต้นทุนที่ต่ํา
ท�ำงานอย่างรวดเร็ว แบ่งงานกันท�ำอย่างมีระบบ ควบคุมประสิทธิภาพการท�ำงาน สามารถตรวจสอบ
การทำ� งานได้ และเปา้ หมายทสี่ �ำคัญคอื ผลก�ำไรท่ีวางไวเ้ ปน็ สำ� คญั
เหตนุ ศ้ี าสตรด์ า้ นการบรหิ ารจดั การภาพยนตรจ์ งึ มลี กั ษณะทดี่ ลู กั ลนั่ ระหวา่ งความเปน็ ศลิ ปแ์ ละผล
ก�ำไร บ่อยครั้งการด�ำเนินงานก็อาจมีความขัดแย้งกันในตัว ตัวอย่างเช่น ในขณะท่ีผู้ก�ำกับภาพยนตร์
ตอ้ งการถา่ ยทำ� ภาพยนตรด์ ว้ ยความละเมยี ดละไม โดยตอ้ งการดาราดงั ทมี่ ฝี ไี มล้ ายมอื ดา้ นการแสดง หรอื
ต้องการถ่ายท�ำเรียงล�ำดับต้ังแต่ต้นจนจบด้วยฟิล์มภาพยนตร์เพ่ือสดุดีการท�ำงานภาพยนตร์ในอดีตและ
การพฒั นาการของอารมณก์ ารแสดงของตวั ละคร แตผ่ อู้ ำ� นวยการสรา้ งกลบั มองวา่ การดำ� เนนิ การดงั กลา่ ว
สิ้นเปลือง เพราะการถ่ายตามล�ำดับเวลาท�ำให้ต้องย้อนกลับมาถ่ายสถานท่ีเดิมหรือสร้างฉากใหม่ซํ้าแล้ว
ซ้ําเล่า ผนวกกับการถ่ายภาพด้วยฟิล์มก็เปลืองฟิล์มอย่างมาก จึงเกิดการต่อรองกันเพื่อที่จะท�ำให้เกิด
สภาวะแห่งความสมดลุ ของการผลิตภาพยนตร์
ส�ำหรับในหน่วยน้ี การบริหารจัดการภาพยนตร์จ�ำแนกได้เป็นห้าช่วงคือ ช่วงแรก การพัฒนา
โครงการภาพยนตร์ ชว่ งทสี่ อง ก่อนการผลิตภาพยนตร์ ช่วงทสี่ าม การผลติ ภาพยนตร์ ช่วงทีส่ ่ี หลงั การ
ผลติ ภาพยนตร์ และช่วงที่หา้ การเผยแพรจ่ ัดจำ� หน่ายภาพยนตร์ ซงึ่ จะประกอบดว้ ยการจดั จำ� หนา่ ย การ
ฉาย และการสื่อสารการตลาด ท้ังห้าช่วงนี้ จะเกี่ยวโยงกับบุคคลสองคนท่ีเป็นเสมือนแม่ทัพเรือในการ
ดำ� เนนิ การบรหิ ารจดั การคอื ผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ (director) และผอู้ ำ� นวยการสรา้ ง (producer) โดยทแ่ี ตล่ ะ