Page 26 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 26
14-16 การผลติ ภาพยนตรเ์ บือ้ งต้น
ดา้ นท่สี าม คู่แข่ง จะหมายถึงบรษิ ัทภาพยนตรแ์ ห่งอนื่ ๆ หรือแมก้ ระทัง่ ในตลาดโลกมคี ่แู ข่ง
อย่างไร หากมีคู่แข่งท่ีน่ากลัวมาก กลยุทธ์ท่ีอาจท�ำได้คือ การหลีกเล่ียงการผลิตภาพยนตร์ในแนวทาง
เดยี วกนั หรือไม่ฉายภาพยนตรใ์ นชว่ งเวลาใกล้เคยี งกัน หรือในอีกด้านหนง่ึ กค็ อื การสู้ หรอื การรว่ มมือ
ซง่ึ ขนึ้ อยกู่ บั การประเมนิ สถานการณข์ องการบรหิ ารจดั การ ในจดุ นจ้ี ะเกยี่ วขอ้ งกบั มติ กิ ารเผยแพรจ่ ดั จำ� หนา่ ย
เปน็ อยา่ งมาก
ด้านที่สี่ การรวมตัวกันเป็นวิชาชีพหรือสภาพแรงงาน ก็อาจถือเป็นอีกหน่ึงปัจจัยด้าน
เศรษฐกจิ สำ� หรบั ปจั จยั ดงั กลา่ วในตา่ งประเทศถอื เปน็ ปจั จยั สำ� คญั อยา่ งมากในการผลติ ภาพยนตร์ เพราะ
ผผู้ ลติ ภาพยนตรม์ กั จะมกี ารรวมตวั กนั เปน็ กลมุ่ อาชพี เชน่ วชิ าชพี ของผกู้ ำ� กบั ภาพยนตร์ นกั แสดง ผเู้ ขยี นบท
ชา่ งภาพ และอนื่ ๆ การรวมตวั กนั นอกจากตอ้ งการเพอื่ นแลว้ ยงั สรา้ งพลงั ในการทำ� งานอกี ดว้ ย โดยเฉพาะ
การจ้างงานหรือการท�ำสัญญา ผู้บริหารจะต้องให้ความสนใจต่อสัญญาที่ต้องไม่ละเมิดต่อเงื่อนไขของ
สหภาพท่คี นเหลา่ นน้ั สังกดั เช่น การกำ� หนดเงอื่ นไขไม่ให้ทำ� งานเกนิ ก่ีชัว่ โมงต่อวันหรือการรบั รองรายได้
ของการทำ� งาน ในจดุ นหี้ ากผผู้ ลติ ภาพยนตรไ์ ทยตอ้ งผลติ ภาพยนตรใ์ นตา่ งประเทศกต็ อ้ งตรวจสอบเงอ่ื นไข
ของวชิ าชีพต่างๆ เหล่านใี้ หถ้ ว้ นถี่
(2) แรงกดด้านการเมืองและสังคม เน่ืองดว้ ยภาพยนตรถ์ กู มองวา่ เปน็ สอื่ มวลชนท่ีสง่ ผล
กระทบต่อผู้ชมอยา่ งมาก โดยเฉพาะข้อวติ กดา้ นจริยธรรม เชน่ ความรนุ แรง ภาพโปเ๊ ปลอื ย การละเมิด
ต่อเยาวชน และท่สี �ำคญั คือ ข้อวติ กในประเด็นเรอื่ งชาติสง่ ผลใหเ้ กดิ กฎหมายหรอื ขอ้ กำ� หนดตา่ งๆ ท่มี ีต่อ
การผลติ ภาพยนตร์
สำ� หรบั กรณขี องสงั คมไทย กฎกตกิ ามารยาทในการด�ำเนนิ การเกยี่ วกบั การผลติ ภาพยนตร์
มาจากภาครัฐ ผ่านพระราชบัญญัติภาพยนตร์และวีดิทัศน์ พ.ศ. 2551 เนื้อหารายละเอียดจะระบุถึงข้อ
ก�ำหนดท้งั ในดา้ นการผลิตภาพยนตร์และการฉายภาพยนตร์
หากเปน็ ภาพยนตรท์ ม่ี าจากตา่ งประเทศและตอ้ งการถา่ ยทำ� ในประเทศไทยกม็ ขี อ้ กำ� หนดให้
ขออนุญาตตรวจพิจารณาก่อนการถ่ายท�ำ และหากเป็นภาพยนตร์ไทยก่อนท่ีจะฉายหรือน�ำออกจาก
ราชอาณาจักรก็จ�ำเป็นต้องน�ำมาตรวจพิจารณาเช่นเดียวกันและจะได้รับเรตของภาพยนตร์ ข้อก�ำหนด
ดงั กลา่ วองคก์ ารภาพยนตรจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งรบั รแู้ ละปฏบิ ตั ติ ามมเิ ชน่ นนั้ กไ็ มส่ ามารถผลติ และนำ� ภาพยนตรอ์ อก
ฉายได้
ข้อก�ำหนดเหล่าน้ีส�ำหรับในต่างประเทศอาจมีมากกว่าน้ัน โดยเฉพาะข้อก�ำหนดจากมิติ
เศรษฐกิจ เช่น การก�ำหนดก�ำแพงภาษี การก�ำหนดโควต้า เพ่ือการป้องกันอุตสาหกรรมภาพยนตร์ใน
ประเทศยับย้ังมิให้ภาพยนตร์จากต่างประเทศก้าวเข้ามาฉายในประเทศที่ออกกฎหมาย แนวคิดดังกล่าว
วางอยูบ่ นฐานคติที่ว่า ประเทศมหาอ�ำนาจมกั จะใช้ภาพยนตร์รุกรานและครอบงำ� ประเทศอ่ืนๆ
นอกจากขอ้ กำ� หนดจากรฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ งการหา้ มแลว้ ยงั มขี อ้ สนบั สนนุ ทภ่ี าครฐั ดำ� เนนิ การผา่ น
พระราชบัญญตั ิภาพยนตร์และวดี ิทศั น์ พ.ศ. 2551 อกี ด้วย เช่น การสง่ เสริมภาพยนตร์ที่มีคุณคา่ ดว้ ยการ
ให้ทุน และรวมไปถึงการส่งเสริมความรู้แก่ผู้ชมและพัฒนาอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยด้วย ในกรณีของ
ต่างประเทศยังมขี ้อกำ� หนดของรฐั ทีช่ ่วยลดภาษีหากมีการถา่ ยท�ำในพ้นื ทข่ี องตน