Page 27 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 27

การบริหารการผลติ ภาพยนตร์ 14-17
            (3) ช่องทางการสื่อสารและผู้รับสาร แมคเควล เสนอว่า ชอ่ งทางการสือ่ สารและผู้รับสาร
เป็นอีกปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อองค์การภาพยนตร์
            ในกรณีแรก ช่องทางการสื่อสารของภาพยนตร์ที่แปรเปล่ียนไป จากในอดีตการฉาย
ภาพยนตร์จ�ำกัดเฉพาะโรงภาพยนตร์ แต่ในปัจจุบันด้วยการพัฒนาระบบดิจิทัล การฉายภาพยนตร์เริ่ม
กระจายสรู่ ะบบออนไลนแ์ ละดวี ดี ี ทำ� ใหด้ า้ นหนง่ึ การเผยแพรเ่ ปน็ ไปไดก้ วา้ งขวางสะดวกมากขน้ึ โดยเฉพาะ
ผู้ผลิตภาพยนตรร์ ายยอ่ ยสามารถเคลอ่ื นย้ายแพลทฟอรม์ (platform) จากโรงภาพยนตร์สสู่ ื่ออนื่ ได้อยา่ ง
รวดเรว็ ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย ไม่ตอ้ งลา้ งฟิล์มเหมอื นในอดีต แต่ในอกี ด้านหน่ึง ชอ่ งทางทหี่ ลากหลายกส็ ร้าง
ปัญหาใหก้ ับช่องทางในอดตี เชน่ โรงภาพยนตรต์ อ้ งปรบั ตัวให้เข้าและเทา่ ทนั ตอ่ เทคโนโลยี
            ส่วนกรณีของผู้รับสาร อาจถือได้ว่า เป็นปัจจัยภายนอกท่ีส่งผลส�ำคัญต่อการบริหาร
ภาพยนตร์อย่างมาก ในทัศนะของนักการตลาด การผลิตภาพยนตร์ไม่อาจเกิดข้ึนได้เลยถ้าไม่มองไปถึง
ความตอ้ งการของผรู้ บั สารหรอื ผชู้ มภาพยนตร์ กลา่ วอกี นยั หนงึ่ คอื ผชู้ มเปน็ เสมอื นผกู้ ำ� หนดเนอ้ื หาความ
ตอ้ งการของภาพยนตร์ เหตนุ ี้ ในการผลติ ภาพยนตรส์ �ำหรบั บรษิ ทั หรอื อตุ สาหกรรมภาพยนตรข์ นาดใหญ่
จึงมักจะต้องส�ำรวจความต้องการของผู้ชมเป็นประการส�ำคัญหลังจากน้ันคือเลือกผลิตภาพยนตร์ไปตาม
ความต้องการ
            อย่างไรก็ดี มีขอ้ สงั เกตว่า ค�ำวา่ ผูช้ มน้อี าจมิได้หมายความถงึ กลมุ่ มวลชนขนาดใหญ่ แต่
อาจหมายถงึ กลมุ่ ผชู้ มทร่ี บั ชมภาพยนตรน์ น้ั จรงิ ๆ เชน่ แมว้ า่ ผชู้ มอาจมปี รมิ าณไมม่ ากนกั แตเ่ ปน็ แฟนพนั ธ์ุ
แท้ หรือผู้ตดิ ตามภาพยนตร์ การผลิตภาพยนตรเ์ พอื่ คนกล่มุ นกี้ ็เปน็ สงิ่ ทยี่ งั คงได้ผลกำ� ไรในเชงิ ธุรกจิ
            นอกจากน้ัน เม่ือบริบทสังคมเร่ิมแปรเปล่ียนไป โดยเฉพาะในยุคของดิจิทัล ผู้รับสารใน
ปัจจุบันเริ่มเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทั้งการใช้ชีวิตและรวมถึงการรับชมภาพยนตร์ ปัจจัยนี้เองท่ีส่งผลให้
การผลิตและการบริหารภาพยนตร์ย่อมต้องแปรเปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน เช่น ในอดีตอาจรับชมภาพยนตร์
ผ่านทางโรงภาพยนตร์ แต่ด้วยพฤติกรรมผู้ชมรุ่นใหม่ที่นิยมการบริโภคผ่านหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนท่ี
องค์การภาพยนตร์ก็ต้องปรับเปล่ียนการบริหารการฉายไปสู่ช่องทางที่หลากหลายที่นอกจากจอโรง
ภาพยนตร์ หรือตัวผู้ชมภาพยนตร์ในปัจจุบันก็จะมีลักษณะเป็นผู้ชมที่กระตือรือร้น (active audience)
เช่น การน�ำข้อมูลของภาพยนตร์มาพูดคุยโต้ตอบในโลกออนไลน์ จึงต้องเตรียมพร้อมในการบริหารช่อง
ทางการสอ่ื สารให้กับผูช้ มใหก้ ลายเปน็ เสียงสนบั สนุนภาพยนตร์
            (4) เหตุการณ์และข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนวัตถุดิบต่าง ๆ ทางวัฒนธรรม เหลา่ นถี้ อื เปน็
ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับตวั เนอื้ หาในภาพยนตร์ มักจะไม่ได้อยอู่ ยา่ งลอยๆ แต่จะมีความสมั พนั ธก์ ันกับสภาพ
เหตุการณ์ต่างๆ ในสังคมในช่วงเวลาดังกล่าว ส่วนหนึ่งก็เพ่ือที่จะท�ำให้ผู้ชมให้ความสนใจภาพยนตร์
ตวั อยา่ งเชน่ เหตกุ ารณภ์ ยั พบิ ตั ิ มหนั ตภยั วนิ าศกรรม และแมก้ ระทง่ั ปญั หาวยั รนุ่ การทำ� แทง้ ในภาพยนตร์
มกั จะไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากเหตกุ ารณจ์ รงิ และในเวลาเดยี วกนั นนั้ เอง เนอ้ื หาดงั กลา่ วกอ็ าจสง่ ผลกระทบ
ต่อสังคมได้เช่นเดียวกัน ในจุดน้ีผู้ผลิตภาพยนตร์จึงจ�ำเป็นต้องระมัดระวังเนื้อหาในสื่อของตน หรืออาจ
กล่าวได้วา่ เป็นความรับผดิ ชอบทางสงั คมของผผู้ ลิตภาพยนตร์ มเิ ชน่ นน้ั แลว้ ปัจจยั แรงกดดันของรัฐก็จะ
เข้ามาจัดการการผลิตภาพยนตร์ โดยอาจไม่ผ่านการตรวจพจิ ารณาภาพยนตร์
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32