Page 25 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 25

การบรหิ ารการผลิตภาพยนตร์ 14-15

                            เหตุการณแ์ ละขอ้ มลู ข่าวสารใน
                          ปจั จบุ นั วัตถุดิบตา่ งๆ ทางวฒั นธรรม

แรงผลักดนั     สภาพ        การบรหิ าร   ระบบ                      การควบคุม    แรงผลกั ดนั
   ทาง        เศรษฐกจิ    จดั การภายใน  เทคนิค                       ทาง        ทางสังคม
               โดยรวม                                                          และการเมือง
เศรษฐกจิ       นายทนุ         ลักษณะ                              กฎหมาย/
                          ทางวิชาชพี ของสือ่                       การเมอื ง
                คแู่ ขง่                                          พลงั กดดนั
            สหภาพแรงงาน                                           สถาบันอื่นๆ

                                              ช่องทางการส่ือสาร
                                        ความสนใจและความต้องการของ

                                                   ผู้รับสาร

            ภาพที่ 14.2 ปัจจัยภายในและภายนอกที่ส่งผลต่อการบริหารงานสื่อสารมวลชน

       จากแผนภาพดงั กล่าวสามารถขยายความไดด้ ังน้ี
       2.1 	ปัจจัยภายนอก คอื ปจั จยั ทอ่ี ยภู่ ายนอกองคก์ ารภาพยนตรส์ ามารถจำ� แนกไดเ้ ปน็ เศรษฐกจิ
การเมืองและสงั คม ช่องทางการสื่อสารและผรู้ ับสาร และเหตกุ ารณแ์ ละข้อมลู ขา่ วสาร กล่าวไดว้ า่ ปัจจัย
ท้งั สน่ี เี้ ปน็ ปจั จัยท่ีแนวคดิ การบริหารงานของฟาโยลอ์ าจไม่ไดก้ ล่าวถึง รายละเอียดมดี งั น้ี

            (1) 	แรงกดดันด้านเศรษฐกิจ ถอื เปน็ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การบรหิ ารองคก์ ารภาพยนตร์
สงู ปจั จัยดงั กล่าวมีอย่หู ลากหลาย นับตัง้ แตภ่ าพของรวมของระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ นายทุน ค่แู ขง่
และแม้กระท่ังสภาพแรงงาน

                ในดา้ นแรก สภาพเศรษฐกิจโดยรวมท่ีส่งผลต่อการบริหารองค์การภาพยนตร์ หาก
เศรษฐกิจดีก็จะส่งผลให้อุตสาหกรรมภาพยนตร์เติบโต ในทางกลับกันเศรษฐกิจย่ําแย่อุตสาหกรรม
ภาพยนตร์ก็มีปัญหาได้เช่นเดียวกัน แต่อย่างไรก็ดีในอีกมุมหน่ึงจากประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ก็ยืนยันให้
เห็นว่า เมื่อเศรษฐกิจย่ําแย่ก็ส่งผลต่อเนื้อหาภาพยนตร์ที่มีเน้ือหาที่สนุกสนาน ชวนฝัน เพื่อกล่อมเกลา
ผูช้ มมิใหเ้ ครียดกับภาวะเศรษฐกจิ

                นอกจากนั้น เมื่อสังคมเป็นระบบทุนนิยมการมุ่งเป้าหมายการผลิตเป็นส�ำคัญ การ
ด�ำเนินงานทุกอย่างจึงต้องค�ำนึงถึงผลก�ำไร การท�ำสัญญาให้ถูกต้อง เช่น การท�ำสัญญาการซ้ือขายบท
การเชา่ ซื้อ การทำ� สัญญากบั นกั แสดง ทีมงาน แนวคดิ ดงั กล่าวต่างไปจากการมองวา่ ทีมงานและผลผลติ
ทัง้ หมดเป็นเร่ืองของศิลปะความคดิ สรา้ งสรรค์

                ด้านที่สอง แรงกดดันด้านเศรษฐกิจยังเก่ียวพันกับนายทุน นายทุนจะมีผลต่อการ
ก�ำหนดเน้ือหาหรือความต้องการต่อภาพยนตร์ท่ีผลิต บ่อยคร้ังภาพยนตร์อาจมิได้เกิดขึ้นจากความ
สร้างสรรค์หรือความตั้งใจของผู้ก�ำกับภาพยนตร์ แต่กลับเดินตามความต้องการของนายทุน ณ จุดนี้
ผกู้ �ำกับภาพยนตร์จงึ อาจตอ้ งกา้ วไปสกู่ ารผลิตตามใบสั่ง หรืออาจต้องพฒั นาทักษะการตอ่ รองนายทนุ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30